#1
|
||||
|
||||
สสวท.คณิตศาสตร์ 2550
scanมองไม่เห็นพิมพ์ดีกว่า
ตอนที่1(กา) 1. กำหนดให้ $f(x) = ax^{9}+bx^{5}+cx^{3}+-7$ เมื่อ $a,b,c$ เป็นจำนวนจริง ถ้า $f(-9)=9$ แล้วค่าของ $f(9)$ เท่ากับเท่าไหร่ 2. ถ้า $f(x) = \sqrt{sin^{4}x+4cos^{2}x}- \sqrt{cos^{4}x+4sin^{2}x}$ แล้ว $f(x)$เท่ากับเท่าไหร่ 3. กำหนดให้ a และbเป็นจำนวนจริงที่สอดคล้องกับ $sina+sinb = \frac{\sqrt{6}}{2}$ และ $cosa+cosb=\frac{1}{\sqrt{2}}$ ค่าของ sin(a+b) เท่ากับเท่าใด 4.กำหนดให้ $g(x)=x^{5}+x^{4}+x^{3}+x^{2}+x+1$ เศษที่เหลือจากหาร $g(x^{12})$ด้วย$g(x)$เท่ากับข้อใด 6.ให้ x และ yเป็นจำนวนจริงบวก ที่สอดคล้องกับ $log_{y}(x^{3})+log_{x}(y^{3})=10$ และ$xy=144$ ค่าของ $\frac{x+y}{2}$ เท่ากับข้อใด ปล.ข้อที่เป็รูปค่อยลงน่ะครับพอดีscanมองไม่เห็นต้องพิมพ์เอาครับ
__________________
..................สนุกดีเนอะ................... 30 มิถุนายน 2007 20:54 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 3 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ CmKaN |
#2
|
||||
|
||||
ไม่ตรงก็ช่วยกันแก้ไขนะคร้าบ
ข้อ 1. $-23$ 2. $\cos 2x$ 3. 4. 5. หายไป 6. $13\cdot \sqrt{3}$
__________________
PaTa PatA pAtA Pon! 30 มิถุนายน 2007 21:51 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 2 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ M@gpie |
#3
|
||||
|
||||
ตอนที่1(กาแต่ขี้เกียจพิมพ์ช้อย)
7.ให้ $a,b,c$เป็นจำนวนจริงที่ไม่เป็นศูนย์ และสอดคล้องกับ $\frac{a+b-c}{c}=\frac{a-b+c}{b}=\frac{-a+b+c}{a}$ สมมติว่า $(abc)x=(a+b)(b+c)(c+a)$และxมากกว่า0 ค่าของxเท่ากับข้อใด 9.ถ้าa,b,c,d เป็นจำนวนจริงที่สอดคล้องกับ $a^{2}+b^{2}+c^{2}+d^{2}=10$ $(a^{2}+b^{2})(c^{2}+d^{2})=16$ $(a^{2}+c^{2})(b^{2}+d^{2})=21$ $(a^{2}+d^{2})(b^{2}+c^{2})=24$ ค่าของ $a^{4}+b^{4}+c^{4}+d^{4}$เท่ากับเท่าใด ตอนที่1มี10ข้อ ตอนที่2(เติมคำ 25ข้อ ข้อล่ะ4) 1.ให้$a_{1},a_{2},a_{3},...,a_{n}$ เป็นลำดับเลขคณิตที่สิดคล้องกับ $a_{4}+a_{7}+a_{10}=17$ และ $\sum_{i = 4}^{14}a_{i}=77$ ถ้า$a_{n}=13$ และ $\frac{1+3+5+...+(2n-1)}{a_{1}+a_{2}+a_{3}+...+a_{n}}=\frac{r}{s}$เมื่อ rและsเป็นจำนวนเต็มที่ หรม(r,s)=1 แล้วค่าของ r+sคือ
__________________
..................สนุกดีเนอะ................... |
#4
|
||||
|
||||
ปีนี้รู้สึกว่าข้อสอบจะง่ายกว่าปีก่อนๆอยู่พอสมควรนะครับ:-)
__________________
$$\int_{0}^{\frac{\pi}{2}}\frac{a\cos x-b\sin x}{a\sin x+b\cos x}dx=\ln\left(\frac{a}{b}\right)$$ BUT $$\int_{0}^{\frac{\pi}{2}}\frac{a\cos x+b\sin x}{a\sin x+b\cos x}dx=\frac{\pi ab}{a^{2}+b^{2}}+\frac{a^{2}-b^{2}}{a^{2}+b^{2}}\ln\left(\frac{a}{b}\right)$$
|
#5
|
|||
|
|||
ตอนที่ 2 ข้อ 1 ตอบ 46 รึเปล่าคับ ช่วยแนะด้วยนะคร้าบบ
|
#6
|
||||
|
||||
ตอนที่2
2. ถ้า a และ b เป็นจำนวนจริงที่ $(60)^{a}=3$ และ $(60)^{b}=5$ แล้วค่าของ $(12)^{\frac{1-a-b}{2(1-b,}}$เท่ากับ 3. กำหนดให้ f เป็นฟังก์ชั่นที่มีสมบัติ $f(x)+f(x-1)=(x+1)^{2}$ และ $f(25)=50$ เศษที่เหลือจากการหาร $f(50)$ด้วย1000เท่ากับ 4. กำหนดให้ x และ y เป็นจำนวนเต็มบวกที่สอดคล้องกับ $xy+x+y=71$ และ $x^{2}y+xy^{2}=880$ ค่าของ$x^{2}+y^{2}$เท่ากับ 5. สำหรับจำนวนเต็มบวก n ใดๆ $f(n)=\frac{1}{\sqrt[3]{n^{2}}+\sqrt[3]{n^{2}-n}+\sqrt[3]{n^{2}-2n+1}}$ ค่าของ $\sum_{i = 1}^{1000} f(i)$ เท่ากับ ปล.มาช้าหน่อยน่ะครับ ข้อยากๆอยู่ด้านหลัง
__________________
..................สนุกดีเนอะ................... 30 มิถุนายน 2007 21:13 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 2 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ CmKaN |
#7
|
||||
|
||||
ตอนที่2
6. ถ้า a และ b เป็นจำนวนเต็มสอดคล้องกับ $(\sqrt[3]{a}+\sqrt[3]{b}-1)^{2}=49+20(\sqrt[3]{6})$ แล้วค่าของ a+b เท่ากับ 7. กำหนดให้ $a_{1},a_{2},a_{3},...,a_{n},...$ เป็นลำดับของจำนวนจริง ซึ่งสอดคล้องกับ $a_{1}=17$และ$a_{n+1}=2a_{n}-7$ สำหรับ $n=1,2,3,...$ สมมุติว่ามีจำนวนจริง $r,s,t$ โดยที่ $a_{n}=r(s^{n})+t$ สำหรับ $n=1,2,3,...$ค่าของ r+s+tเท่ากับ 8. กำหนดให้ $p(x)=x^{6}-x^{4}-x^{2}-1$ สมมุติว่า a,b,c,d เป็นรากของ $x^{4}+x^{3}-x^{2}-1=0$ ค่าของ p(a)+p(b)+p(c)+p(d) เท่ากับ
__________________
..................สนุกดีเนอะ................... |
#8
|
||||
|
||||
ตอนที่2
9. กำหนดให้ f เป็นฟังก์ชั่น ซึ่งนิยามบนเซตของจำนวนจริง และ fสอดคล้องกับเงื่อนไข $f(x+y)=f(x)+f(y)+xy-50$ สำหรับจำนวนจริง x และ y ถ้า $f(1)=5$ แล้วค่าของ f(101) เท่ากับ 10. กำหนดให้ a,b,c เป็นจำนวนเต็มบวกซึ่ง $1<a<b<c$ และมีจำนวนเต็มบวกn ที่ $(a-\frac{1}{c})(b-\frac{1}{a})(c-\frac{1}{b})=n$ ค่าของ$a^{2}+b^{2}+c^{2}$เท่ากับ 11. กำหนดให้ $a_{0},a_{1},a_{2},a_{3},...,a_{n},...$ เเป็นลำดับของจำนวนจริงบวก ที่ $a_{0}=2,a_{1}=4$ และ $(a_{n})^{loga_{n}}=(a_{n+1})^{log_{a_{n-1}}}$สำหรับ $n=1,2,3,...$ สูตรทั่วไปของ $a_{n}$ คือ (ตอบในรูปn) 12. กำหนดให้ $x^{(x\sqrt{x})}=(x\sqrt{x})^{x}$ เมื่อ $x>1$ เซตคำตอบของสมการ คือ 13. กำหนดให้ n เป็นจำนวนเต็มบวก ที่สอดคล้องกับ $log(sinx)+log(cosx)+1=0$ และ $loh(sinx+cosx) = \frac{1}{2}(logn-1)$ สำหรับจำนวนจริงบวก xใดๆ จำนวนเต็มบวก n ทั้งหมดที่ทำให้ระบบสมการเป็นจริง คือ
__________________
..................สนุกดีเนอะ................... 30 มิถุนายน 2007 21:32 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ CmKaN |
#9
|
||||
|
||||
ข้อสอบปีนี้มีหลายข้อเคยเห็นอยู่บ่อยๆ คุ้นหน้าคุ้นตาเยอะเลย บางข้อไม่เปลี่ยนแปลงเลยครับ
ขอตอบ 3 ข้อแรกก่อนละกัน... ตอนที่1 ข้อ1. $f(-9)=a(-9)^9+b(-9)^5+c(-9)^3-7$ และ $f(9)=a(9^9)+b(9^5)+c(9^3)-7=-f(-9)-14=-9-14=-23$ ตอนที่1 ข้อ2.จะได้ $f(x)=|sin^2x-2|-|cos^2x-2|=2-sin^2x-2+cos^2x=cos2x$ ตอนที่1 ข้อ3.$\frac{sina+sinb}{cosa+cosb}=tan\frac{a+b}{2}=\sqrt{3}$ ดังนั้น $sin(a+b)=\frac{2\sqrt{3}}{1+3}=\frac{\sqrt{3}}{2}$ |
#10
|
||||
|
||||
คนออกขี้เกียจออกกระมั้งครับ เห็นที่ วิชาการ.คอม เขาก็ถามถึงเช่นเดียวกันครับ http://www.vcharkarn.com/vcafe/?catid=105 ลองไปช่วยเขากันหลายๆทางนะครับ
|
#11
|
||||
|
||||
ตอนที่2
15. กำหนดให้ $f:R\rightarrow R$ เป็นฟังก์ชั่นที่สอดคล้องกับ $f(x+y)=f(sin\frac{x\pi}{2})+f(sin\frac{y\pi}{2})$ และ $f(xy)=xf(y)+yf(x)$ สำหรับทุก x,y ที่เป็นสมาชิกของ R ค่าของ $f(f(f(5+\sqrt{5})))$เท่ากับ 16. รูปสามเหลี่ยม ABC มีมุม A=40(องศา) และมุม B=60(องศา) ให้D และ E เป็นจุดบนด้าน AB และ AC ตามลำดับ ลาก เส้นตรง CD และ BE ตัดกันที่จุด F ถ้า DCB =70(องศา) และ EBC =40(องศา) แล้ว DAF เท่ากับ...องศา 17. กำหนดให้ a เป็นจำนวนจริง สิดคล้องกับอสมการ $log_{(a^{2}+a+1)}(3x^{2}+4)-log_{(a^{2}+a+1)}(x^{2}+1) > 1$ สำหรับทุก xเป็นสมาชิกของ R เซตของจำนวนจริง a ที่เป็นไปได้ทั้งหมดคือ 18. กำหนดให้ $\sqrt{2+\sqrt{2+\sqrt{2+x}}}+\sqrt{3} \sqrt{2-\sqrt{2+\sqrt{2+x}}} =2x$ เมื่อ $x\geq 0$ เซตคำตอบของสมการคือ 19. สมมุติว่ากราฟ $y=2x^{3}-4x+2$ ตัดกับ กราฟ $y=x^{3}+2x-1$ เพียง 3 จุดที่ แตกต่างกัน โดยที่จุดที่งสามดังกล่าว อยู่บนเส็นตรงเดียวกัน ความชันของเส้นตรงดังกล่าว เท่ากับ 21. กำหนดให้ ABC เป็นรูปสามเหลี่ยมใดๆ มี BC=5,AC=12,AB=13 จุด D และจุด Eอยู่บนด้าน AB และACตามลำดับ ถ้าเส้นตรง DE แบ่งรูปสามเหลี่ยม ABC ออกเป็น2 ส่วน ซึ่งมีพื้นที่เท่ากัน แล้ว เส้นตรง DE มีคามยามอย่างน้อยเท่ากับ 22. กำหนดให้ x และ y เป็นจำนวนจริงที่ $\frac{x^{2}+y^{2}}{x^{2}-y^{2}}+\frac{x^{2}-y^{2}}{x^{2}+y^{2}} = 1$ ค่าของ $\frac{x^{8}+y^{8}}{x^{8}-y^{8}}+\frac{x^{8}-y^{8}}{x^{8}+y^{8}}$ เท่ากับ
__________________
..................สนุกดีเนอะ................... |
#12
|
||||
|
||||
ข้อ
13. $n=12$
__________________
PaTa PatA pAtA Pon! |
#13
|
||||
|
||||
เเล้วคุณ cmkan นี่กะเต็มรึเปล่าครับ เหอะๆๆๆ
|
#14
|
||||
|
||||
ขอเลือกทำข้อง่ายต่อนะครับ
ตอนที่1 ข้อ6. จะได้ $x=\sqrt{12}, 12\sqrt{12}$ และ $y=12\sqrt{12}, \sqrt{12}$ ดังนั้น $\frac{x+y}{2}=13\sqrt{3}$ ตอนที่1 ข้อ7. ตอบ x=8 ครับ ข้อนี้เคยทำหลายครั้งแล้วครับ |
#15
|
||||
|
||||
22ไม่มีคำตอบรึป่าวครับ
__________________
พลังงานอันมหาศาลเกิดจากแรงกดดันอันยิ่งใหญ่ การที่จะเก่งขึ้นเรื่อยๆคือการก้าวข้ามขีดจำกัดของตัวเองซ้ำๆ |
หัวข้อคล้ายคลึงกัน | ||||
หัวข้อ | ผู้ตั้งหัวข้อ | ห้อง | คำตอบ | ข้อความล่าสุด |
ข้อสอบช้างเผือก ทอ. พ.ศ.2550 | Eddie | ข้อสอบในโรงเรียน ม.ต้น | 50 | 25 พฤศจิกายน 2012 22:43 |
ข้อสอบ คัดเลือกนักเรียนระดับเขต ช่วงชั้นที่ 3 ปี 2550 | Tinyo Dragonn | ข้อสอบในโรงเรียน ม.ต้น | 55 | 31 กรกฎาคม 2008 15:23 |
โอเน็ต ปีการศึกษา 2550 (สอบ พ.ศ.2551) จะต้องสอบ 8 กลุ่มสาระ | sck | ข่าวคราวแวดวง ม.ปลาย | 5 | 07 กรกฎาคม 2007 03:00 |
สอวน.ปีนี้ (2550) | HIPPO1234 | ข้อสอบโอลิมปิก | 14 | 27 พฤษภาคม 2007 12:54 |
ข้อสอบสอวน.ค่ายที่ 2 ปี 2550 | dektep | ข้อสอบโอลิมปิก | 25 | 18 เมษายน 2007 04:09 |
เครื่องมือของหัวข้อ | ค้นหาในหัวข้อนี้ |
|
|