|
สมัครสมาชิก | คู่มือการใช้ | รายชื่อสมาชิก | ปฏิทิน | ค้นหา | ข้อความวันนี้ | ทำเครื่องหมายอ่านทุกห้องแล้ว |
|
เครื่องมือของหัวข้อ | ค้นหาในหัวข้อนี้ |
#1
|
|||
|
|||
ข้อสอบ TMO ครั้งที่ 1 ณ จังหวัดขอนแก่น
ยากดีแท้ - -''
__________________
การกลายพันธุ์: เมื่อเอาปี 2542 เป็นปีฐาน พบว่า ข้อสอบคณิต 1 ปัจจุบัน ยากราวกับ สมาคมคณิตศาสตร์ ปี 42 ข้อสอบคณิต 2 ปัจจุบัน ยากราวกับ ข้อสอบคณิต 1 ปี 42 ข้อสอบสมาคมคณิตศาสตร์ ปัจจุบัน ยากราวกับข้อสอบโอลิมปิกไทย ปี 42 อนาคต คณิต 1 จะกลายเป็นโอลิมปิก คณิต 2 จะกลายเป็นสมาคมฯ แล้วทีนี้ ข้อสอบโอลิมปิกไทย จะกลายเป็น IMO มั้ยล่ะเนี่ย |
#2
|
|||
|
|||
ชิ้นที่ 2
__________________
การกลายพันธุ์: เมื่อเอาปี 2542 เป็นปีฐาน พบว่า ข้อสอบคณิต 1 ปัจจุบัน ยากราวกับ สมาคมคณิตศาสตร์ ปี 42 ข้อสอบคณิต 2 ปัจจุบัน ยากราวกับ ข้อสอบคณิต 1 ปี 42 ข้อสอบสมาคมคณิตศาสตร์ ปัจจุบัน ยากราวกับข้อสอบโอลิมปิกไทย ปี 42 อนาคต คณิต 1 จะกลายเป็นโอลิมปิก คณิต 2 จะกลายเป็นสมาคมฯ แล้วทีนี้ ข้อสอบโอลิมปิกไทย จะกลายเป็น IMO มั้ยล่ะเนี่ย |
#3
|
|||
|
|||
ชิ้นที่ 3 (ชิ้นที่ 2 ขีดทึบๆ เอียงๆที่อยู่ท้ายข้อ 13 นั่นเป็นเคอร์เซอร์ของ word ครับไม่ต้องสนใจ)
__________________
การกลายพันธุ์: เมื่อเอาปี 2542 เป็นปีฐาน พบว่า ข้อสอบคณิต 1 ปัจจุบัน ยากราวกับ สมาคมคณิตศาสตร์ ปี 42 ข้อสอบคณิต 2 ปัจจุบัน ยากราวกับ ข้อสอบคณิต 1 ปี 42 ข้อสอบสมาคมคณิตศาสตร์ ปัจจุบัน ยากราวกับข้อสอบโอลิมปิกไทย ปี 42 อนาคต คณิต 1 จะกลายเป็นโอลิมปิก คณิต 2 จะกลายเป็นสมาคมฯ แล้วทีนี้ ข้อสอบโอลิมปิกไทย จะกลายเป็น IMO มั้ยล่ะเนี่ย |
#4
|
|||
|
|||
ชิ้นสุดท้าย
__________________
การกลายพันธุ์: เมื่อเอาปี 2542 เป็นปีฐาน พบว่า ข้อสอบคณิต 1 ปัจจุบัน ยากราวกับ สมาคมคณิตศาสตร์ ปี 42 ข้อสอบคณิต 2 ปัจจุบัน ยากราวกับ ข้อสอบคณิต 1 ปี 42 ข้อสอบสมาคมคณิตศาสตร์ ปัจจุบัน ยากราวกับข้อสอบโอลิมปิกไทย ปี 42 อนาคต คณิต 1 จะกลายเป็นโอลิมปิก คณิต 2 จะกลายเป็นสมาคมฯ แล้วทีนี้ ข้อสอบโอลิมปิกไทย จะกลายเป็น IMO มั้ยล่ะเนี่ย |
#5
|
||||
|
||||
ยากจิงๆด้วยเหอๆๆๆ
__________________
PaTa PatA pAtA Pon! |
#6
|
||||
|
||||
ยากจริงๆๆๆๆ ด้วยสิ
__________________
"Imagination is more important than knowledge. Knowledge is limited. Imagination encircles the world." |
#7
|
|||
|
|||
ข้อ 16 เลขชี้กำลังอันบนสุดเป็น 2004 นะครับ พอดีมันซ้อนกันมากเกินตัวเลยเล็ก
__________________
การกลายพันธุ์: เมื่อเอาปี 2542 เป็นปีฐาน พบว่า ข้อสอบคณิต 1 ปัจจุบัน ยากราวกับ สมาคมคณิตศาสตร์ ปี 42 ข้อสอบคณิต 2 ปัจจุบัน ยากราวกับ ข้อสอบคณิต 1 ปี 42 ข้อสอบสมาคมคณิตศาสตร์ ปัจจุบัน ยากราวกับข้อสอบโอลิมปิกไทย ปี 42 อนาคต คณิต 1 จะกลายเป็นโอลิมปิก คณิต 2 จะกลายเป็นสมาคมฯ แล้วทีนี้ ข้อสอบโอลิมปิกไทย จะกลายเป็น IMO มั้ยล่ะเนี่ย |
#8
|
||||
|
||||
พิมพ์เองเลยหรือครับนี่ วิเศษจริง ๆ
|
#9
|
||||
|
||||
อ้อ. ส่งข้อสอบมาให้พี่ทางเมล์แล้ว ขอบคุณมากครับ. เดี๋ยวพี่จะลงในเว็บพลังเยอะจริง ๆ
__________________
The Lost Emic <<-- หนังสือเฉลยข้อสอบระดับประถมนานาชาติ EMIC ครั้งที่ 1 - ครั้งที่ 8 ชุดสุดท้าย หลงมา 02 มิถุนายน 2004 14:29 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ gon |
#10
|
|||
|
|||
วันแรก
ข้อ 3. เพราะว่า u2 + v2 +w2 = (u + v + w)2 - 2(uv + uw + vw) = 52 - 2(4) = 17 เพราะว่า u3 + v3 + w3 = (u + v +w)(u2 + v2 +w2) - (uv + uw + vw)(u + v + w) + 3(uvw) = (5)(17) - (4)(5) + 3(3) = 74 เพราะว่า (uv)2 + (uw)2 + (vw)2 = (uv + uw + vw)2 - 2(u2vw + v2uw + w2uv) = (uv + uw + vw)2 - 2uvw(u + v + w) = 42 - 2(3)(5) = -14 เพราะว่า (uv)3 + (uw)3 + (vw)3 = (uv + uw +vw)((uv)2 + (uw)2 +(vw)2) - (u2vw + v2uw + w2uv)(uv + uw + vw) + 3(uvw)2 = (uv + uw +vw)((uv)2 + (uw)2 +(vw)2) - uvw(u + v + w)(uv + uw + vw) + 3(uvw)2 = (4)(-14) - (3)(5)(4) + 3(3)2 = -89 ดังนั้นจะได้สมการพหุนามคือ x3 - 74x2 - 89x - 27 = 0 ข้อ 4. x - sqrt(1 - 1/x) = sqrt(x - 1/x) x2 + 1 - 1/x - 2x sqrt(1 - 1/x) = x - 1/x x2 - x + 1 = 2x sqrt(1 - 1/x) (x2 - x + 1)2 = 4x2(1 - 1/x) (x2 - x + 1)2 = 4x(x - 1) (x2 - x - 1)2 + 4x2 - 4x = 4x(x - 1) (x2 - x - 1)2 = 0 x = (1 + sqrt(5)) / 2 , (1 - sqrt(5)) / 2 แต่จากเงื่อนไขของโจทย์ x >= 1 ดังนั้น x = (1 + sqrt(5)) / 2 ข้อ 6. เพราะว่า f(x) = (x7 - 1) / (x-1) และ f(x7) = (x7)6 + (x7)5 + (x7)4 + (x7)3 + (x7)2 + (x7) + 1 จะได้ f(x7) / f(x) = [(x7)6 + (x7)5 + (x7)4 + (x7)3 + (x7)2 + (x7) + 1](x - 1) / (x7 - 1) = [(x7)5 + 2(x7)4 + 3(x7)3 + 4(x7)2 + 5(x7) + 6 + 7/(x7 - 1)](x - 1) = [(x7)5 + 2(x7)4 + 3(x7)3 + 4(x7)2 + 5(x7) + 6](x - 1) + 7/f(x) ดังนั้นเศษเหลือคือ 7 ข้อ 9. เพราะว่า (2n)!/[(k!)2((n - k)!)2] = (2n)!(nCk)2 / (n!)2 = (2nCn)(nCk)2 ดังนั้น sum( (2nCn)(nCk)2 , k = 0 ถึง n) = 2nCnsum( (nCk)2 , k = 0 ถึง n) = (2nCn)2 ข้อ 10. มีวิธีเลือก 4 แบบ ดังนี้ 1) เลือกจำนวนที่หารด้วย 3 ลงตัวมา 3 ตัว จะได้ nC3 วิธี 2) เลือกจำนวนที่หารด้วย 3 ลงตัวมา 1 ตัว และหารด้วย 3 เหลือเศษ 1 และ 2 มาอย่างละ 1 ตัว จะได้ n3 วิธี 3) เลือกจำนวนที่หารด้วย 3 เหลือเศษ 1 มา 3 ตัว จะได้ nC3 วิธี 4) เลือกจำนวนที่หารด้วย 3 เหลือเศษ 2 มา 3 ตัว จะได้ nC3 วิธี ดังนั้น จำนวนวิธีเลือกทั้งหมดคือ n3 + 3(nC3) วิธี ข้อ 11. เพราะว่า 91 = 7*13 ดังนั้น 1) x1 + x2 + x3 = 7 และ y1 + y2 + y3 + y4 = 13 หรือ 2) x1 + x2 + x3 = 13 และ y1 + y2 + y3 + y4 = 7 กรณี 1) จะได้จำนวนผลเฉลยคือ 6C212C3 = 3,300 วิธี กรณี 2) จะได้จำนวนผลเฉลยคือ 12C26C3 = 1,320 วิธี จำนวนผลเฉลยทั้งหมดคือ 3,300 + 1,320 = 4,620 วิธี วันที่สอง ข้อ 2. เพราะว่า f(0) = f(0 + 0) = f(0) + f(0) + 2547 จะได้ f(0) = -2547 เพราะว่า f(x + m) = f(x) + m [f(1) + 2547] เมื่อ m เป็นจำนวนนับใดๆ ดังนั้น f(2004) = f(0 + 2004) = f(0) + 2004 [f(1) + 2547] จะได้ f(1) + 2547 = 2547/1002 นั่นคือ f(m) = f(0 + m) = f(0) + m(2547/1002) = -2547 + m(2547/1002) จะได้ f(2547) = -2547 + 25472/1002 |
#11
|
||||
|
||||
ลองคิดดูแล้วครับ. โดยส่วนตัวคิดว่ายากกว่าของ สสวท. รอบแรก หลายข้อดูเหมือนง่าย แต่พอทำจะติดปัญหาจุกจิกเล็กน้อยกวนใจ อย่างข้อ 4 วันแรก ดูเหมือนง่าย แต่พอทำ ๆไปก็ติดสมการกำลังสี่ ก็พยายามนั่งมองว่ามันจะแยกตัวประกอบง่าย ๆ อย่างไรก็ไม่เจอ คิดมากเสียเวลา เลยทำไปตามแบบวิธีการแก้สมการกำลังสี่เสียเลย เป็นแบบนี้หลายข้อ คือโดยหลักการน่ะ sol ได้ แต่จะ sol อย่างไร. ถ้าโจทย์สนใจเฉพาะคำตอบก็อาจจะง่ายหน่อย แต่ถ้าสนใจหลักการแก้ที่ถูก 100% หลายข้อคงต้องแสดงวิธีการพิสูจน์อย่างมีหลักการ ถ้าใครแก้ปัญหาทุกข้อแบบ Elementary ได้ โดยไม่มีความรู้อะไรมาก ผมขอนับถือจริง ๆ
ทุกข้อที่คุณคิดด้วยคนเขียน คำตอบก็ตรงกับผมหมด แต่วิธีคิดจะต่างกันเสียส่วนใหญ่ มีบางข้อผมยังไม่ได้ทำ อย่างไรก็ดี ผมลองนำข้อที่ 3 วันที่ 2 มาแปะไว้ ใครว่างก็ลองช่วยตรวจดูที ว่าแนวคิดที่ให้ไว้ มีบกพร่องตรงไหนหรือไม่อย่างไร. เพราะเรื่อง combinatorics เราคงต้องละเอียดกันที่สุด ลองดูนะครับ. ให้ <1, 2, 3, ... , n> แทนการเรียงสับเปลี่ยนของสมาชิก 1, 2, 3, ... , n ให้ f(n) แทนจำนวนวิธีที่มากที่สุดที่ใช้ในการสลับสิ่งของที่มี n ตัว ซึ่งแตกต่างกันทั้งหมด(ตามเงื่อนไขของโจทย์) จะได้ว่า f(n - 1) แทนจำนวนวิธีที่มากที่สุดที่ใช้ในการสลับสิ่งของที่มี n - 1 ตัว พิจารณาจำนวนเต็มบวก k ใด ๆ ในลำดับ 1, 2, ... , k - 1, k, k + 1, ... , n - 1, n ซึ่งมี n ตัว จะหาความสัมพันธ์ระหว่าง f(n) และ f(n - 1) ดังนี้ สมมติว่า k อยู่หน้าสุด จะได้ว่า จำนวนเต็มบวกที่เหลือ n - 1 สิ่ง จะสลับกันอย่างมากที่สุด f(n - 1) ครั้ง เมื่อจัดเรียงแล้วก็จะได้เป็น <k, 1, 2, ... , k - 1, k + 1, ... , n> ซึ่งก็จะได้ว่าจะต้องทำการสลับอีก k - 1 ครั้ง จึงจะได้เป็น <1, 2, ... , k - 1,k, k, + 1, ... , n> ซึ่งจะสลับมากครั้งที่สุดเมื่อ k = n กล่าวคือเอา n มาอยู่หน้าสุดเป็น <n, 1, 2, ... , n - 1> \ f(n) ฃ f(n - 1) + (n - 1) ด้วยเหตุผลเดียวกันนี้เมื่อ พิจารณาแบบเดียวกันกับของ n - 1 ชิ้นคือ 1, 2, ... , n - 1 จะได้ว่าจะสลับมากที่สุดเมื่อ n - 1 อยู่หน้าสุด กล่าวคือเป็น <n - 1, 1, 2, ... , n - 2> \ วิธีการสลับแล้วได้จำนวนครั้งมากที่สุด จะเกิดเมื่อเรียงของจากมากที่สุดไปน้อยที่สุด คือเป็น <n, n - 1, ... , 2, 1> แต่ถ้าของเรียงอยู่แล้ว คือ <1, 2, ... , n> จะได้จำนวนการสลับเท่ากับศูนย์ f(n) ฃ f(n - 1) + (n - 1) \ f(18) ฃ f(17) + 17 ฃ f(16) + 17 + 16 ฃ ... ฃ f(3) + 17 + 16 + ... + 3 = f(3) + 150 แต่โจทย์บอกว่าสลับไปทั้งหมด 150 ครั้ง แสดงว่าของ 3 ชิ้นสุดท้ายนั้นจำนวนวิธีการสลับเท่ากับศูนย์ กล่าวคือ ของ 3 ชิ้นสุดท้ายจะเรียงจากน้อยไปมากอยู่แล้ว ส่วนของก่อนหน้านี้จะต้องเรียงในแบบที่ก่อให้เกิดจำนวนการสลับมากครั้งที่สุด นักเรียนจึงเข้าแถวได้เพียงแบบเดียว คือ หัวแถวเรียงจากคนสูงสุดลงมา จน 3 คนสุดท้ายค่อยเรียงจากน้อยไปมาก กล่าวคือเป็น <18, 17, 16, ... 15, 1, 2, 3>
__________________
The Lost Emic <<-- หนังสือเฉลยข้อสอบระดับประถมนานาชาติ EMIC ครั้งที่ 1 - ครั้งที่ 8 ชุดสุดท้าย หลงมา 03 มิถุนายน 2004 11:48 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ gon |
#12
|
||||
|
||||
ข้อ 3 วันแรก. เสนอแนวคิดอีกอย่างดังนี้
พิจารณาสมการ x3 - px2 + qx - r = 0 ให้ x1 , x2 , x3 เป็นรากของสมการดังกล่าว ให้ y1 , y2, y3 เป็นรากของอีกสมการ โดยที่ y 1= x13, y2 = x23 , y3= x3 3 หรือ y = x3 \ (x3 - r) = px2 - qx ฎ (x3 - r)3 = (px2 - qx)3 ฎ x9 - 3rx6 + 3r2x3 - r3 = p3x6 - q3x3 - 3(px2)(qx)(px2 - qx) ฎ y3 - 3ry2 + 3r2y - r3 = p3y2 - q3y - 3pqy(y - r) ฎ y3 - 3ry2 + 3r2y - r3 - p3y2 + q3y + 3pqy2 - 3pqry = 0 ฎ y3 - (p3 - 3pq + 3r)y2 + (q3 + 3r2 - 3pqr) - r3 = 0 ...(1) ปัญหาในข้อนี้ คือ x3 - 5x2 + 4x - 3 = 0 นั่นคือ p = 5, q = 4, r = 3 นำไปแทนลงใน (1) จะได้ y3 - (125 - 60 + 9)y2 + (64 + 27 - 180)y - 27 = 0 หรือ y3 - 74y2 - 89y - 27 = 0 |
#13
|
|||
|
|||
วันที่สอง ข้อ 3 คิดว่ายังไม่ถูกนะครับ
เพราะ f(18) = 1 + 2 + 3 + ... + 17 = 153 เป็นกรณีที่นักเรียนทั้งหมดยืนเรียงลำดับย้อนกลับกันหมด สังเกตได้ว่า จำนวนดังกล่าวมากกว่า 150 เพียง 3 แสดงว่าการยืนเรียงแถวของนักเรียนใกล้เคียงกับที่ นักเรียนทั้งหมดยืนเรียงลำดับย้อนกลับกันหมดมาก ดังนั้นหากเรา ช่วยครูประจำชั้น สลับคู่นักเรียนให้ก่อนสัก 3 คู่ เช่นเป็น <17, 16 , 15 , 18, 14, 13, 12, ... , 3, 2, 1> ก็จะช่วยให้ได้จำนวนครั้งที่ครูประจำชั้นต้องสลับเป็น 150 ครั้ง เช่นกัน |
#14
|
||||
|
||||
แถมให้อีกข้อ ข้อ 14 วันแรก ถ้าทำแบบ elementray ผมรู้สึกต้องทำยาวเหยียดเลย เขียนไปก็ไม่รู้เรื่องว่ามายังไง (ใครคิดสั้น ๆ เป็นบอก) เลยหามาทั่วไปเลย นี่ก็เหมือนกัน ถ้าโจทย์สนใจเฉพาะคำตอบ อาจจะลองทำกำลังน้อย ๆ แล้วเดาเลยก็อาจถูก แต่ถ้าพิสูจน์ก็อาจจะทำแบบนี้ ขอบอกใครจะทำทัน 3 ชั่วโมง
ถ้า a ฮ I + , a น 1 และ m, n ฮ I + จะพิสูจน์ว่า (am - 1, an - 1) = a(m, n) - 1 ดังนี้ สมมติให้ d = (m, n) จะได้ว่า จะมีจำนวนเต็มบวก s และ t ที่ทำให้ m = ds และ n = dt \ am - 1 = ads - 1 = (ad)s - 1 ซึ่งหารด้วย ad - 1 ลงตัว เพราะ a - b หาร an - bn ลงตัว ทุก n = 1, 2, 3, ... ทำนองเดียวกัน an - 1 = adt - 1 = (ad)t - 1 ซึ่งหารด้วย ad - 1 ลงตัว ในส่วนแรกสรุปได้ว่า ถ้า d = (m, n) แล้ว (ad - 1) | (am - 1) และ (ad - 1) | (an - 1) ต่อไปจะพิสูจน์ว่า ad - 1 (หรือ a(m, n) - 1) เป็นจำนวนเต็มบวกที่มากที่สุดซึ่งหาร am - 1 และ an - 1 ลงตัว) d = (m, n) แสดงว่าจะมีจำนวนเต็ม x, y โดยที่ d = mx + ny ซึ่งจะได้ว่า x กับ y ต้องมีเครื่องหมายต่างกัน ทั้งนี้เพราะ ถ้า x, y < 0 ทั้งคู่ จะได้ว่า d < 0 ซึ่งเป็นไปไม่ได้ หรือ ถ้า x, y > 0 ทั้งคู่ (x, y ณ 1) ก็จะได้ว่า d ณ m + n ซึ่งเป็นไปไม่ได้ เพราะจาก d = (m, n) แสดงว่า d ฃ m และ d ฃ n จึงเหลือเพียงกรณีเดียวคือ เครื่องหมายต่างกัน โดยไม่เสียนัยสำคัญ จะสมมติให้ x > 0 , y ฃ 0 (ถ้า y = 0 ยังคงมั่นใจได้ว่า d > 0) สมมติว่ามีจำนวนเต็มบวกตัวอื่นนอกเหนือไปจาก ad - 1 ซึ่งหารทั้ง am - 1 และ an - 1 ลงตัว คือ c โดยที่ c | am - 1 และ c | an - 1 จะแสดงว่า c | ad - 1 ดังนี้ จะได้ว่า c | (amx - 1) เพราะ amx - 1 = (ax)m - 1m (x > 0) และ c | (a-ny - 1) เพราะ a-ny - 1 = (a-y)n - 1n (y ฃ 0) \ c | [ (amx - 1) - ad(a-ny - 1) ] (c | a ู c | b ฎ c | ax + by) ฎ c | [ (amx - 1) - amx + ny(a-ny - 1) ฎ c | (amx + ny - 1) หรือ c | (ad - 1) นั่นคือ c ฃ ad - 1 \ ad - 1 หรือ a(m, n) - 1 จะเป็น ห.ร.ม. ของ (am - 1, an - 1) ฎ (52547 - 1, 52004 - 1) = 5(2547, 2004) - 1= 57 - 1
__________________
The Lost Emic <<-- หนังสือเฉลยข้อสอบระดับประถมนานาชาติ EMIC ครั้งที่ 1 - ครั้งที่ 8 ชุดสุดท้าย หลงมา 03 มิถุนายน 2004 12:35 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 4 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ gon |
#15
|
|||
|
|||
ดีใจด้วยกับการพัฒนาขึ้นไปอีกขั้นของข้อสอบไทย และการเรียนคณิตศาสตร์ในไทย
|
เครื่องมือของหัวข้อ | ค้นหาในหัวข้อนี้ |
|
|