#31
|
||||
|
||||
อ้างอิง:
$105<x< 175$ ระหว่าง 105 ถึง 175 มีทั้งหมด 71 จำนวน ---> น่าจะ $69$ จำนวน; ไม่นับ หัว(105) และ ท้าย(175) ระหว่าง 105 ถึง 175 มีจำนวนที่ 5 เป็นตัวประกอบเท่ากับ $5(22)$ ถึง $5(35)$ มีทั้งหมด $35-22+1=14$ ---> น่าจะมี $13$ จำนวน(นับ$110$ แต่ไม่นับ 175) ระหว่าง 105 ถึง 175 มีจำนวนที่ 7 เป็นตัวประกอบเท่ากับ $7(16)$ ถึง $7(24)$ มีทั้งหมด $24-16+1=9$ ถูกแล้ว 9 จำนวน ระหว่าง 105 ถึง 175 มีจำนวนที่ 35 เป็นตัวประกอบเท่ากับ 1 ตัวคือ 140 ระหว่าง 105 ถึง 175 มีจำนวนที่ไม่มี $5,7,35$ เป็นตัวประกอบ เท่ากับ $71-14-9+1=72-23=49$ $$--->69-13-9+1= ...$$
__________________
I love Badminton! |
#32
|
||||
|
||||
อ้างอิง:
รู้ได้ยังไงว่า วงกลมที่ สมมติ 2 วง จะมาตัดกันที่จุด F ครับ
__________________
I love Badminton! |
#33
|
||||
|
||||
อ้างอิง:
จึงควรตอบได้ด้วยว่า....
__________________
I love Badminton! |
#34
|
||||
|
||||
คำถามของโจทย์ข้อนี้ไม่จำเป็นต้องระบุุครับว่า.....
|
#35
|
||||
|
||||
อ้างอิง:
__________________
I love Badminton! |
#36
|
||||
|
||||
ข้อ28 ลาก DF ขนาน AB
แล้วใช้ สมบัติ เส้น ขนาน ตอบ x = 112.5 2x = 225
__________________
I love Badminton! |
#37
|
|||
|
|||
อ้างอิง:
x=23/99 จะได้ 1 +1/(1+1/x)=1+1/(1+99/23)= 1+23/122=145/122=a/b ดังนั้น a+b=145+122=267
__________________
ใช้เวลาว่างศึกษาคณิตเพื่อติวลูก นักเรียนศึกษานารี และทวีธาภิเศก http://www.facebook.com/bpataralertsiri คณิตมัธยมปลาย http://www.facebook.com/groups/HighSchoolMath/ |
#38
|
||||
|
||||
ข้อ 22 เห็นด้วยกับที่คุณDr.Kบอกครับ เดี๋ยวคืนนี้ว่างๆผมจะแก้ตามที่คุณDr.Kว่าครับ ผมคงคิดเพลินจนลืมเช็คครับ
__________________
"ถ้าเราล้มบ่อยๆ ในที่สุดเราจะรู้ว่าถ้าจะล้ม ล้มท่าไหนจะเจ็บน้อยที่สุด และรู้อีกว่าต่อไปทำยังไงจะไม่ให้ล้มอีก ดังนั้นจงอย่ากลัวที่จะล้ม"...อาจารย์อำนวย ขนันไทย ครั้งแรกในชีวิตที่สอบคณิตสมาคมคณิตศาสตร์เมื่อปี2533...ผมได้แค่24คะแนน(จากร้อยคะแนน) |
#39
|
||||
|
||||
ข้อ24 ผมคิดได้ 150 องศา ใช้วิธีไล่มุมเอา
โจทย์ให้หา $\angle BCD$ จากมุมภายในสี่เหลี่ยม $ABCD$ จะได้ว่า $\angle BCD=\angle a+\angle b-60^\circ $ $\angle d+\angle f=75^\circ$ $\angle c+\angle e=75^\circ$ $\angle b+\angle d+\angle e=180^\circ$ $\angle a+\angle c+\angle f=180^\circ$ $\angle a+\angle b+\angle c+\angle d+\angle e+\angle f=360^\circ$ $\angle a+\angle b=210^\circ$ จะได้ว่า $\angle BCD=\angle a+\angle b-60^\circ =150^\circ $
__________________
"ถ้าเราล้มบ่อยๆ ในที่สุดเราจะรู้ว่าถ้าจะล้ม ล้มท่าไหนจะเจ็บน้อยที่สุด และรู้อีกว่าต่อไปทำยังไงจะไม่ให้ล้มอีก ดังนั้นจงอย่ากลัวที่จะล้ม"...อาจารย์อำนวย ขนันไทย ครั้งแรกในชีวิตที่สอบคณิตสมาคมคณิตศาสตร์เมื่อปี2533...ผมได้แค่24คะแนน(จากร้อยคะแนน) |
#40
|
||||
|
||||
ข้อ28.ผมขยายความที่คุณDr.Kเฉลยแล้วกัน ถ้ามีตรงไหนอธิบายผิดก็บอกด้วยแล้วกัน ปกติผมไม่ค่อยถนัดเรขา
หามุมภายในแต่ละมุมของรูปแปดเหลี่ยมด้านเท่ามุมเท่าได้เท่ากับ $135$ องศา ลากเส้นจากจุด Gและ D ตามในรูป จะเกิดรูปสามเหลี่ยมหน้าจั่วขึ้น เพราะ DFและFGมีขนาดเท่ากัน เพราะเป็นด้านเท่าของรูปเหลี่ยม มุมยอดคือ $\angle DFG$ เท่ากับมุมภายในแต่ละมุมของรูปแปดเหลี่ยม จะได้ว่ามุมที่ฐานเท่ากันคือ $\frac{45}{2} $ จะได้ว่าสี่เหลี่ยมที่มี $BDG$ เป็นสี่เหลี่ยมด้านขนานเพราะ 1.ด้าน BG ขนานกับอีกด้านหนึ่ง เพราะมุมเท่ากันคือ 45 องศา 2.ด้าน DGขนานกับอีกด้านหนึ่ง เพราะมุมภายในของเส้นขนานรวมกันได้ 180 องศา ($(90^\circ -\frac{45^\circ}{2})+(135^\circ -\frac{45^\circ}{2})$) จากคุณสมบัติของสี่เหลี่ยมด้านขนาน "มุมตรงข้ามของรูปสี่เหลี่ยมด้านขนานมีขนาดเท่ากัน" จะได้ว่า $x^\circ=135^\circ -\frac{45^\circ}{2}$ $2x^\circ=270^\circ -45^\circ=225^\circ$
__________________
"ถ้าเราล้มบ่อยๆ ในที่สุดเราจะรู้ว่าถ้าจะล้ม ล้มท่าไหนจะเจ็บน้อยที่สุด และรู้อีกว่าต่อไปทำยังไงจะไม่ให้ล้มอีก ดังนั้นจงอย่ากลัวที่จะล้ม"...อาจารย์อำนวย ขนันไทย ครั้งแรกในชีวิตที่สอบคณิตสมาคมคณิตศาสตร์เมื่อปี2533...ผมได้แค่24คะแนน(จากร้อยคะแนน) |
#41
|
||||
|
||||
ข้อ 21.
ลองสังเกตทศนิยมแบบซ้ำศูนย์ อย่างเช่น $0.3666=\frac{3666}{10000}=\frac{1833}{5555} $ $0.777=\frac{777}{1000} $ $0.555=\frac{555}{1000}=\frac{111}{200} $ จะเห็นว่าตัวส่วนเขียนในรูปที่มี $2,5,10$ เป็นตัวประกอบเท่านั้นโดยไม่มีเลขอื่นเป็นตัวประกอบ คือเขียนได้ในรูปของ $2^a5^b$ พิจารณา $\frac{16}{A} $ ดังนั้น $A$ มี $2,5,10$ เป็นตัวประกอบและโจทย์กำหนดให้ $A$ เป็นจำนวนนับที่น้อยกว่า30 จะได้ว่า $A=2,4,5,8,10,16,20,25$ แต่ $\frac{16}{A} $ ไม่เป็นจำนวนเต็มจึงตัด $2,4,8,16$ ออกไป เหลือค่า $A=5,10,20,25$ พิจารณา $\frac{B}{18} $ จะเกิดทศนิยมแบบซ้ำศูนย์เมื่อตัวส่วนถูกกำจัด 9 ออกไปคือ $B$ มี9เป็นตัวประกอบ จะได้ว่า $B=9,18,27$ แต่ $\frac{B}{18} $ ไม่เป็นจำนวนเต็มจึงตัด $18$ ออกไป เหลือค่า $B=9,27$ $\frac{B}{A} $ มีค่ามากที่สุดเมื่อ $B$ มีค่ามากที่สุดและ $A$ มีค่าน้อยที่สุด ซึ่งคือ $\frac{27}{5} $ $\frac{B}{A} $ มีค่าน้อยที่สุดเมื่อ $B$ มีค่าน้อยที่สุดและ $A$ มีค่ามากที่สุด ซึ่งคือ $\frac{9}{25} $ คำตอบคือ $\frac{27}{5} \times \frac{25}{9} =15 $
__________________
"ถ้าเราล้มบ่อยๆ ในที่สุดเราจะรู้ว่าถ้าจะล้ม ล้มท่าไหนจะเจ็บน้อยที่สุด และรู้อีกว่าต่อไปทำยังไงจะไม่ให้ล้มอีก ดังนั้นจงอย่ากลัวที่จะล้ม"...อาจารย์อำนวย ขนันไทย ครั้งแรกในชีวิตที่สอบคณิตสมาคมคณิตศาสตร์เมื่อปี2533...ผมได้แค่24คะแนน(จากร้อยคะแนน) |
#42
|
|||
|
|||
คุณอ๊าก
เฉลยข้อสอบ TME ม.2 ปี56 เผื่อมีน้องๆ ม.ต้น อยู่ในกลุ่มจะได้ใช้ให้เป็นประโยชน์นะครับ https://www.facebook.com/media/set/?...6160354&type=3 |
#43
|
|||
|
|||
ข้อ 23 มีวิธีคิดแบบละเอียดไหมครับ
|
#44
|
||||
|
||||
ข้อ23มีเฉลยในเฟซบุ๊คตามที่ทำลิ้งค์ให้ครับ ผมแคปรูปมาลงให้ดูด้วยครับ
__________________
"ถ้าเราล้มบ่อยๆ ในที่สุดเราจะรู้ว่าถ้าจะล้ม ล้มท่าไหนจะเจ็บน้อยที่สุด และรู้อีกว่าต่อไปทำยังไงจะไม่ให้ล้มอีก ดังนั้นจงอย่ากลัวที่จะล้ม"...อาจารย์อำนวย ขนันไทย ครั้งแรกในชีวิตที่สอบคณิตสมาคมคณิตศาสตร์เมื่อปี2533...ผมได้แค่24คะแนน(จากร้อยคะแนน) |
#45
|
||||
|
||||
แล้วที่คุณหมอเฉลยไว้ก็แบบนี้ไม่ใช่หรือครับ
|
หัวข้อคล้ายคลึงกัน | ||||
หัวข้อ | ผู้ตั้งหัวข้อ | ห้อง | คำตอบ | ข้อความล่าสุด |
ปีนี้(2556)จะมีมั้ยครับ | ฟินิกซ์เหินฟ้า | Mathcenter Contest | 4 | 13 ธันวาคม 2013 11:27 |
คำตอบ TME ป.5 +ป.4 (ที่สอบไปเมื่อ 31 สค.2556) | imcanubankorat | ข้อสอบในโรงเรียน ประถมปลาย | 16 | 27 กันยายน 2013 16:07 |
ข้อสอบตรง มอ. 2556 | pogpagasd | ข้อสอบในโรงเรียน ม.ปลาย | 30 | 19 สิงหาคม 2013 15:05 |
การประชุมวิชาการทฤษฎีจำนวนและการประยุกต์ 2556 | PP_nine | งานหรือข่าวคราวคณิตศาสตร์ทั่วไป | 2 | 14 มิถุนายน 2013 13:12 |
หมายกำหนดการสอบแข่งขัน เพชรยอดมงกุฏปี 2556 | PoomVios45 | ข่าวคราวแวดวงประถม ปลาย | 1 | 24 พฤษภาคม 2013 11:47 |
เครื่องมือของหัวข้อ | ค้นหาในหัวข้อนี้ |
|
|