#16
|
||||
|
||||
เอารูปข้อ 17 มาลงให้ครับ
|
#17
|
|||
|
|||
รบกวนข้อ 21 ด้วยครับ
รบกวนท่านผู้รู้อธิบายข้อ 21 ด้วยครับ
|
#18
|
||||
|
||||
$$tan 89.9^\circ = \frac{sin(\frac{\pi }{2}-\frac{\pi }{1800}) }{cos(\frac{\pi }{2}-\frac{\pi }{1800})} $$ ประมาณด้วยค่าเชิงอนุพันธ์ $$f(x) = sin x \Rightarrow \acute f (x) = cos x$$ $$f(x) \approx f(x_0) + \acute f (x_0)dx$$ $$sin \frac{\pi }{2} + (cos \frac{\pi }{2})(\frac{-\pi }{1800}) = 1$$ $$g(x) = cos x \Rightarrow \acute g (x) = -sin x$$ $$g(x) \approx g(x_0) + \acute g (x_0)dx$$ $$cos \frac{\pi }{2} + (-sin \frac{\pi }{2})(\frac{-\pi }{1800}) = \frac{\pi }{1800}$$ $$\therefore \frac{sin(\frac{\pi }{2}-\frac{\pi }{1800}) }{cos(\frac{\pi }{2}-\frac{\pi }{1800})} = \frac{1}{\frac{\pi }{1800}} = \frac{1800}{\pi }$$ 09 ธันวาคม 2014 17:00 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ yellow |
#19
|
|||
|
|||
ขอบคุณครับคุณ yellow
|
#20
|
||||
|
||||
ข้อ 21 ขอเสริมแบบประมาณค่าง่ายๆ อีกวิธีครับ
tan 89.9° = cot 0.1° = cos 0.1÷ sin0.1 ----(1) เนื่องจากมุม 0.1° = 0.1×$\frac{\pi}{180}$ = $\frac{\pi}{1800}$ มีค่าใกล้ 0° ดังนั้น cos 0.1° ~ 1; sin 0.1° ~ $\frac{\pi}{1800}$ แทนลงในสมการ (1) ได้ tan 89.9° = 1÷ $\frac{\pi}{1800}$ =$\frac{1800}{\pi}$ |
#21
|
||||
|
||||
ตาม ทฤษฎีบทพีทาโกรัส นั่งไล่นับไปเรื่อยๆ หรือคะ มีหลักอะไรเป็นเทคนิคนอกเหนือจากนี้ไหมคะ ขอบคุณค่ะ
__________________
"accepting the truth" (〜 ̄▽ ̄)〜 |
#22
|
||||
|
||||
อ้างอิง:
จะได้อัตราส่วน $\frac {AQ}{AB} = \frac {40}{(40+64m)}= \frac {5}{(5+8m)} $ และ $\frac {AP}{AC} = \frac{24}{(24+64m)} = \frac {3}{(3+8m)}$ |
#23
|
||||
|
||||
อ้างอิง:
หรือพิจารณา $AQ : QB : AB = [AOC] : [BOC] : ([AOC]+[BOC]) = 40 : 64m : (40+64m)$ |
#24
|
||||
|
||||
ขอบคุณครับ
รบกวนถามต่อครับ แล้วข้อ 5 นี่ ต้องทำส่วน ในรูป a^2 - b^2 ก่อนรึเปล่าครับ แต่พอคูณเศษด้วย วงเล็บเยอะจนมึนไปเลยครับ 14 มีนาคม 2015 10:06 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ BigPaPa |
#25
|
||||
|
||||
รอเฉลยแนวคิดเป็นข้อด้วยคนครับ
__________________
เมื่อได้อยู่กับคณิตศาสตร์ด้วยความเข้าใจ คุณจะหลงรักคณิตศาสตร์ |
#26
|
||||
|
||||
อ้างอิง:
QB ไม่ใช่ด้านบน BOC AB ไม่ใช่ด้านบน AOC+BOC นำมาคิดแบบนี้ได้ด้วยหรือคะ รบกวนคุณ Puriwatt อธิบายเพิ่มเติมอีกนิดค่ะ ขอบคุณค่ะ
__________________
"accepting the truth" (〜 ̄▽ ̄)〜 |
#27
|
||||
|
||||
ข้อ 22 แปลงค่าออกมาได้ตามรูปค่ะ
แต่จะพิจารณาได้อย่างไรว่า ทำไมข้อ A จึงน้อยที่สุด ขอบคุณค่ะ
__________________
"accepting the truth" (〜 ̄▽ ̄)〜 |
#28
|
||||
|
||||
อ้างอิง:
เป็นการแปลงจากหลักของยุคลิด ที่ว่าสามเหลี่ยมที่มีความสูงเท่ากัน จะมีขนาดพื้นที่แปรเป็นสัดส่วนโดยตรงตามขนาดของความยาวฐาน ดังนั้นสามเหลี่ยม ACB กับ AOB อยู่บนฐานเดียวกันคือเส้นตรง AB และลากต่อเส้น CO มาตัดกับฐาน AB ที่จุด Q จะสรุปได้ดังนี้ (ให้ความสูงจากจุด C และ O จากเส้นตรง AB เป็น H และ h ตาลำดับ) 1. [AOQ] = AQ×h/2, [ACQ] = AQ×H/2 --> [ACO] = AQ×(H-h)/2 2. [BOQ] = BQ×h/2, [BCQ] = BQ×H/2 --> [BCO] = BQ×(H-h)/2 จะเห็นได้ว่าจะจับคู่ไหนก็ได้อัตราส่วนเดียวกันทั้งหมดครับ |
#29
|
||||
|
||||
อ้างอิง:
__________________
"accepting the truth" (〜 ̄▽ ̄)〜 |
#30
|
||||
|
||||
อ้างอิง:
$\frac{a^2(x-b)(x-c)}{(b-a)(c-a)} -\frac{b^2(x-c)(x-a)}{(b-a)(c-b)}+\frac{c^2(x-a)(x-b)}{(c-a)(c-b)}=x^2$ |
หัวข้อคล้ายคลึงกัน | ||||
หัวข้อ | ผู้ตั้งหัวข้อ | ห้อง | คำตอบ | ข้อความล่าสุด |
ข้อสอบ 7 วิชาสามัญ 2557 | RT OSK | ข้อสอบในโรงเรียน ม.ปลาย | 7 | 14 เมษายน 2014 19:53 |
การแข่งขันทางวิชาการ ระดับนานาชาติ ประจำปี พ.ศ. 2557สมัครอย่างไร | naam | ปัญหาคณิตศาสตร์ ประถมปลาย | 7 | 25 ธันวาคม 2013 22:33 |
สพฐ. 2557 กำหนดการรับสมัคร(1-25 ธ.ค.2556)และสอบแข่ง รอบที่ 1 (26 ม.ค.2557) | gon | ข่าวคราวแวดวง ม.ต้น | 22 | 16 ธันวาคม 2013 09:56 |
ผลสอบโอลิมปิก สสวท.ค่าย 1 (คัดไปสอบปี 2557) | gon | ข่าวคราวแวดวง ม.ปลาย | 0 | 23 พฤศจิกายน 2013 16:31 |
สพฐ. 2557 กำหนดการรับสมัคร(1-25 ธ.ค.2556)และสอบแข่ง รอบที่ 1 (26 ม.ค.2557) | gon | ข่าวคราวแวดวงประถม ปลาย | 1 | 10 พฤศจิกายน 2013 04:56 |
เครื่องมือของหัวข้อ | ค้นหาในหัวข้อนี้ |
|
|