|
สมัครสมาชิก | คู่มือการใช้ | รายชื่อสมาชิก | ปฏิทิน | ค้นหา | ข้อความวันนี้ | ทำเครื่องหมายอ่านทุกห้องแล้ว |
|
เครื่องมือของหัวข้อ | ค้นหาในหัวข้อนี้ |
#16
|
|||
|
|||
อ้างอิง:
|
#17
|
|||
|
|||
ข้อ 32
$ab+cd=38 \quad...... (1)$ $ac+bd=34 \quad...... (2)$ $ad+bc=43 \quad...... (3)$ $(1)+(2) ได้ \quad(a+d)(b+c)=72 \quad..... (4)$ $(1)+(3) ได้ \quad(a+c)(b+d)=81 \quad..... (5)$ $(2)+(3) ได้ \quad(a+b)(c+d)=77 \quad..... (6)$ (4) กับ (5) แยกตัวประกอบได้หลายชุด ดังนั้นเลือก (6) ดีกว่า เพราะแยกตัวประกอบได้ 2 ชุด คือ $(a+b)(c+d) = 77 = 1\times 77$ กับ $(a+b)(c+d) = 77 = 7\times 11$ เมื่อพิจารณาแล้ว $(a+b)$ หรือ $(c+d)$ เป็น $1$ หรือ $77$ ไม่ได้ ชุดที่เป็นไปได้ คือ $(a+b)(c+d)= 7\times 11$ ดังนั้น $a+b+c+d=7+11=18$ |
#18
|
|||
|
|||
ข้อ 25
จากรูป $abc = x$ และ $ab + 2ac + 2bc = x$ โดยที่ $a,b,c$ เป็นจำนวนเต็ม ได้ $\frac{ab}{abc} + \frac{2ac}{abc} + \frac{2bc}{abc} = \frac{x}{abc}$ จุดรูปใหม่ได้ $\frac{1}{c} + \frac{2}{b} + \frac{2}{a} = 1$ หรือ $\frac{1}{c} + \frac{1}{\frac{b}{2}} + \frac{1}{\frac{a}{2}} = 1$ ดังนั้นหาชุดเศษส่วน 3 จำนวนที่บวกกันได้ 1 มาพิจารณา เช่น $\frac{1}{2}, \frac{1}{4}, \frac{1}{4}$ ซึ่งจะได้ $c=2, b=8, a = 8$ ทำให้ $abc = 128$ $\frac{1}{3}, \frac{1}{3}, \frac{1}{3}$ ซึ่งจะได้ $c=3, b=6, a = 6$ ทำให้ $abc = 108$ $\frac{1}{5}, \frac{2}{5}, \frac{2}{5}$ ซึ่งจะได้ $c=5, b=5, a = 5$ ทำให้ $abc = 125$ เป็นต้น เมื่อพิจารณาแล้วพบว่า $abc$ ที่น้อยที่สุดที่เป็นไปได้ คือ $108$ |
#19
|
|||
|
|||
ข้อ 24 $a,b,c เป็นจำนวนเฉพาะ โดยที่ a\leqslant b\leqslant c$
สามารถเขียน $a + b + c = 31$ ได้ดังนี้ $3 + 5 + 23$ $3 + 11 + 17$ $5 + 7 + 19$ $5 + 13 + 13$ $7 + 7 + 17$ $7 + 11 + 13$ ทั้งหมด $6$ แบบ |
#20
|
|||
|
|||
เสนอแนวคิดอีกทางหนึ่งของข้อ 10 ฮะ โดยพิจารณาสมการออกเป็นช่วงๆ
พิจารณาช่วง A $(-\infty , -\frac{7}{2})$ $\left|{2a + 7}\right|+\left|{2a - 1}\right|= 8$ $-(2a + 7) + (-(2a - 1)) = 8$ $-4a - 6 = 8$ $a = -\frac{7}{2}$ คำตอบของสมการในช่วงนี้คือ $a = -\frac{7}{2}$ พิจารณาช่วง B $(-\frac{7}{2}, \frac{1}{2})$ $\left|{2a + 7}\right|+\left|{2a - 1}\right|= 8$ $(2a + 7) + (-(2a - 1)) = 8$ $8 = 8$ คำตอบของสมการในช่วงนี้ คือ $a$ เป็นอะไรก็ได้ในช่วงนี้ แต่เนื่องจาก กำหนดให้ $a$ เป็นจำนวนเต็ม ดังนั้น จำนวนเต็มในช่วงนี้ได้แก่ $-3, -2, -1, 0$ พิจารณาช่วง C $(\frac{1}{2}, \infty)$ $\left|{2a + 7}\right|+\left|{2a - 1}\right|= 8$ $(2a + 7) + (2a - 1) = 8$ $4a + 6 = 8$ $a = \frac{1}{2}$ คำตอบของสมการในช่วงนี้คือ $a = \frac{1}{2}$ ดังนั้นเมื่อพิจารณาคำตอบทั้ง $3$ ช่วงแล้ว $a$ ที่เป็นจำนวนเต็มจึงมีแค่ $4$ จำนวน 03 กุมภาพันธ์ 2015 12:22 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ Ruth Bimbo เหตุผล: เพิ่มข้อความ, แก้ไข LaTex |
#21
|
|||
|
|||
ข้อ 21
$AB=BC \quad ดังนั้น\quad B\hat {A}C = B\hat {C}A $ $ให้ \quad B\hat {A}C = B\hat {C}A = x $ $\overline{AD} แบ่งครึ่ง B\hat{A} C\quad ดังนั้น \quad D\hat {A}C = \frac {x}{2} $ $พิจารณาสามเหลี่ยมมุมฉาก AHC จะได้ $ $H\hat {A}C + A\hat {C}H = 90^{\circ}$ $(H\hat {A}D + D\hat {A}C) + A\hat {C}H = 90^{\circ}$ $21^{\circ} + \frac{x}{2} + x = 90^{\circ}$ $x = 46^{\circ} $ |
#22
|
|||
|
|||
ข้อ 23
ให้ $A, B , C, D$ มีจำนวนแอปเปิ้ล $a, b, c, d$ ตามลำดับ $a = b + c + d$ $b = \frac {a+b+c}{2}$ $c = \frac {1}{6} (a+b+d)$ แทนค่า $a = b+c+d$ ลงใน $b$ จะได้ $b = 2(c+d)$ แทนค่า $b = 2(c+d)$ ลงใน $a$ จะได้ $a = 3(c+d)$ แทนค่า $a$ และ $b$ ลงใน $c$ จะได้ $c = 6d$ $a = 21d, \quad b = 14d, \quad c = 6d \quad จะได้ \quad a+b+c = 41d$ $ดังนั้น \quad a + b +c \quad เป็น \quad 41 เท่าของ d$ |
#23
|
|||
|
|||
ข้อ 31
$x และ \frac {221}{x}$ เป็นจำนวนเต็ม (Integer) นั่นหมายถึง $x$ เป็นจำนวนเต็มบวกหรือจำนวนเต็มลบก็ได้ ดังนั้น $x$ ที่สอดคล้องได้แก่ $\pm 1,\quad \pm 13,\quad \pm 17,\quad \pm 221 \quad$ ทั้งสิ้น $8$ จำนวน |
#24
|
|||
|
|||
ข้อ 20
มี $3$ จำนวน คือ $n = 8, 9, 10$ |
#25
|
||||
|
||||
ข้อ 13. เหมือนกับเรามีแท่งไม้ AD วางอยู่บนโต๊ะ ขนานกับขอบโต๊ะ หัวคือ A ปลายคือ D จากนั้นเราเลื่อนแท่งไม้ลงมาในแนวนอน โดยให้ปลายหัวคือ A อยู่ห่างจากจุด B เป็นระยะคงตัวเสมอ และดินสอขนานกับขอบโต๊ะ
จนถึงตำแหน่ง A'D' โดยที่ระยะ DG = 5 เซนติเมตร พื้นที่ที่แรเงาคือพื้นที่ที่ดินสอกวาดไปได้นั่นเอง ถ้าลากเส้นตรง AA' และ DD' จากนั้นเลื่อนเซกเมนต์ส่วนโค้ง DD' ซึ่งแรเงาไปทับกับเซกเมนต์ส่วนโค้ง AA' ก็จะได้รูปสี่เหลี่ยม AA'D'D เป็นรูปสี่เหลี่ยมด้านขนานที่มีความยาว AD = 10 และส่วนสูงคือ DG = 5 พื้นที่จึงเป็น (10)(5) ตารางเซนติเมตรครับ. |
#26
|
|||
|
|||
การที่ A'D'เกิดจากการเลื่อนขนานส่วนของเส้นตรง AD เป็นการเลื่อน AD ในแนวเฉียงเพื่อมาตัดกับ CD ซึ่งจะเกิดเป็นสี่เหลี่ยมด้านขนานตามที่คุณ Gon อธิบาย โจทย์ กับรูปที่กำหนดให้้ไม่สัมพันธ์กัน ทำให้สับสนได้ ผมนึกถึงแต่รูปที่โจทย์ให้มา
ขอบคุณครับ |
#27
|
||||
|
||||
อ้างอิง:
|
#28
|
|||
|
|||
ถามหน่อยครับว่า ตอนสอบรอบนี้มีข้อสอบที่เป็นภาษาอังกฤษหรือไม่ครับ
__________________
site:mathcenter.net คำค้น |
#29
|
||||
|
||||
ข้อ 31-35 ไงครับ.
|
#30
|
|||
|
|||
อ้อผมดูไม่ละเอียดเองครับ ผมแค่สงสัยว่าโจทย์ข้อ 1-25 ทำไมเหมือนกับลิงค์ใน #12 มากๆ
เหมือนกับแปลเป็นภาษาไทยเพียงอย่างเดียว
__________________
site:mathcenter.net คำค้น |
หัวข้อคล้ายคลึงกัน | ||||
หัวข้อ | ผู้ตั้งหัวข้อ | ห้อง | คำตอบ | ข้อความล่าสุด |
สพฐ. 2558 รอบเขตพื้นที่ | คณิตสระบุรี | ข้อสอบในโรงเรียน ประถมปลาย | 3 | 26 มกราคม 2015 19:13 |
cos(2558 arctan 2) ช่วยด้วยครับ | Brownian | ปัญหาคณิตศาสตร์ทั่วไป | 4 | 24 มีนาคม 2013 21:04 |
เครื่องมือของหัวข้อ | ค้นหาในหัวข้อนี้ |
|
|