|
สมัครสมาชิก | คู่มือการใช้ | รายชื่อสมาชิก | ปฏิทิน | ค้นหา | ข้อความวันนี้ | ทำเครื่องหมายอ่านทุกห้องแล้ว |
|
เครื่องมือของหัวข้อ | ค้นหาในหัวข้อนี้ |
#16
|
|||
|
|||
เติมคำข้อ 4 คุณกิตติคิดอะไรผิดไปหรือเปล่าครับ
|
#17
|
||||
|
||||
ข้อ 7 ตอนที่ 1
$\frac{2xy+yz-4xz}{47xyz} =\frac{2}{47}(\frac{1}{z} )+ \frac{1}{47}(\frac{1}{x})-\frac{4}{47}(\frac{1}{y})$ $\frac{3xy}{x+y}=4\rightarrow \frac{1}{4} =\frac{x+y}{3xy}\rightarrow \frac{3}{4} =\frac{1}{x}+\frac{1}{y} $......(1) $\frac{2yz}{y+z}=3\rightarrow \frac{1}{3} =\frac{y+z}{2yz}\rightarrow \frac{2}{3} =\frac{1}{z}+\frac{1}{y} $......(2) $\frac{5xz}{x+z}=2\rightarrow \frac{1}{2} =\frac{x+z}{5xz}\rightarrow \frac{5}{2} =\frac{1}{x}+\frac{1}{z} $......(3) (1)-(2) $\frac{1}{12} =\frac{1}{x}-\frac{1}{z}$.....(4) (4)+(3) $\frac{31}{12}=\frac{2}{x}\rightarrow \frac{1}{x}=\frac{31}{24}$ แทน $\frac{1}{x} $ ในสมการ (4) $\frac{1}{z}=\frac{1}{x}-\frac{1}{12}=\frac{31}{24}-\frac{1}{12}=\frac{29}{24} $ $\frac{1}{y}=\frac{2}{3}- \frac{1}{z}=\frac{2}{3}-\frac{29}{24}=-\frac{13}{24} $ $\frac{2xy+yz-4xz}{47xyz} =\frac{2}{47}(\frac{1}{z} )+ \frac{1}{47}(\frac{1}{x})-\frac{4}{47}(\frac{1}{y})$ $=\frac{2}{47}(\frac{29}{24} )+ \frac{1}{47}(\frac{31}{24})-\frac{4}{47}(-\frac{13}{24})$ $=\frac{1}{47\times 24}\left(\,58+31+42\right) $ $=\frac{131}{47\times 24} =\frac{1}{8} $ $\frac{47xyz}{2xy+yz-4xz} =8$
__________________
"ถ้าเราล้มบ่อยๆ ในที่สุดเราจะรู้ว่าถ้าจะล้ม ล้มท่าไหนจะเจ็บน้อยที่สุด และรู้อีกว่าต่อไปทำยังไงจะไม่ให้ล้มอีก ดังนั้นจงอย่ากลัวที่จะล้ม"...อาจารย์อำนวย ขนันไทย ครั้งแรกในชีวิตที่สอบคณิตสมาคมคณิตศาสตร์เมื่อปี2533...ผมได้แค่24คะแนน(จากร้อยคะแนน) |
#18
|
||||
|
||||
ไม่รู้ว่าข้อ4 ผมลืมกรณีไหนไปบ้างไหมครับ ช่วยบอกหน่อยครับ แชร์วิธีแก้โจทย์กันได้ครับ ผมจะได้เรียนรู้ด้วยครับ
พบแล้วครับ บวกเลขผิดไปครับ ขอบคุณมากครับ
__________________
"ถ้าเราล้มบ่อยๆ ในที่สุดเราจะรู้ว่าถ้าจะล้ม ล้มท่าไหนจะเจ็บน้อยที่สุด และรู้อีกว่าต่อไปทำยังไงจะไม่ให้ล้มอีก ดังนั้นจงอย่ากลัวที่จะล้ม"...อาจารย์อำนวย ขนันไทย ครั้งแรกในชีวิตที่สอบคณิตสมาคมคณิตศาสตร์เมื่อปี2533...ผมได้แค่24คะแนน(จากร้อยคะแนน) 15 ธันวาคม 2015 17:55 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 2 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ กิตติ |
#19
|
||||
|
||||
ข้อ27 ตอนที่1
$a=-(\sin 15^\circ +\cos 15^\circ)$ $b=\sin 15^\circ \cos 15^\circ=\frac{2\sin 15^\circ \cos 15^\circ}{2}=\frac{\sin 30^\circ}{2} =\frac{1}{4} $ $a^2=(\sin 15^\circ +\cos 15^\circ)^2=1+2\sin 15^\circ \cos 15^\circ=1+2b$ $a^2-b=1+b,a^2+b=1+3b$ $a^4-b^2=(a^2-b)(a^2+b)=(1+b)(1+3b)=(1+\frac{1}{4} )(1+\frac{3}{4})=\frac{35}{16} $
__________________
"ถ้าเราล้มบ่อยๆ ในที่สุดเราจะรู้ว่าถ้าจะล้ม ล้มท่าไหนจะเจ็บน้อยที่สุด และรู้อีกว่าต่อไปทำยังไงจะไม่ให้ล้มอีก ดังนั้นจงอย่ากลัวที่จะล้ม"...อาจารย์อำนวย ขนันไทย ครั้งแรกในชีวิตที่สอบคณิตสมาคมคณิตศาสตร์เมื่อปี2533...ผมได้แค่24คะแนน(จากร้อยคะแนน) |
#20
|
||||
|
||||
ข้อ 23 ตอนที่2
$12345678910111213...2015=1/2/3/4/5/6/7/8/9/10/11/12/13/.../2014/2015$ พิจารณาทีละล็อต $1/2/3/4/5/6/7/8/9$ มีผลรวมเลขโดดเท่ากับ $1+2+3+4+5+6+7+8+9=45$ $10/11/12/13/14/15/16/17/18/19$ มีผลรวมเลขโดดเท่ากับ $(1\times 10)+1+2+3+4+5+6+7+8+9=10+45=55$ $20/21/22/23/24/25/26/27/28/29$ มีผลรวมเลขโดดเท่ากับ $(2\times 10)+1+2+3+4+5+6+7+8+9=20+45=65$ เช่นเดียวกับล็อตของ $30/31/32/33/34/35/36/37/38/39$ มีผลรวมเลขโดดเท่ากับ $(3\times 10)+1+2+3+4+5+6+7+8+9=30+45=75$ เริ่มมีรูปแบบ ให้เดาไว้ว่าจาก 1-99 น่าจะมีผลบวกเท่ากับ $45\times \overbrace{10}^{จำนวนล็อต หลักสิบ 0-9} +(10+20+30+40+50+60+70+80)$ $=450+450=900$ จาก 100 ถึง 199 มีเลขหนึ่งเพิ่มมา 100 ตัว มีผลบวกเลขโดดเท่ากับ $900+100=1000$ จาก 200 ถึง 299 มีเลขสองเพิ่มมา 100 ตัว มีผลบวกเลขโดดเท่ากับ $900+(2\times 100)=1100$ เริ่มเห็นรูปแบบว่าจาก 1ถึง 999 มีผลบวกเลขโดดเท่ากับ $900\times \overbrace{10}^{จำนวนล็อต หลักสิบ 0-9}+(100+200+300+...+900)=9000+4500=$ $13500$ จาก 1000 ถึง 1999 มีเลขหนึ่งเพิ่มมา 1000 ตัว มีผลบวกเลขโดดเท่ากับ $13500+1000=$ $14500$ จาก 2000 ถึง 2015 มีผลบวกเลขโดดเท่ากับ $(16\times 2)+1+2+3+4+...9+1+1+1+1+2+1+3+1+4+1+5=32+45+21=$ $98$ ผลบวกของเลขโดดของจำนวน $12345678910111213...2015$ เท่ากับ $13500+14500+98=28098$ ไม่รู้ว่าจะตกหล่นตรงไหนไปบ้าง ช่วยผมดูด้วยแล้วกันครับ
__________________
"ถ้าเราล้มบ่อยๆ ในที่สุดเราจะรู้ว่าถ้าจะล้ม ล้มท่าไหนจะเจ็บน้อยที่สุด และรู้อีกว่าต่อไปทำยังไงจะไม่ให้ล้มอีก ดังนั้นจงอย่ากลัวที่จะล้ม"...อาจารย์อำนวย ขนันไทย ครั้งแรกในชีวิตที่สอบคณิตสมาคมคณิตศาสตร์เมื่อปี2533...ผมได้แค่24คะแนน(จากร้อยคะแนน) |
#21
|
||||
|
||||
ผมลองคิดดูเล่น ๆ ยังเหลืออีกนิดหน่อย 4 ข้อ บางข้อที่ยังขี้เกียจทำ เพราะดูเหนื่อย
ข้อไหนที่คิดว่าผิดช่วยโต้แย้งด้วยนะครับ. ตอนที่ 1. 1. ก 2. ข? 3. ก 4. ข 5. ก 6. ง 7. ค 8. ข 9. ง 10. ง 11. ง 12. ข 13. ง 14. ก 15. ค 16. ค 17. ?? หาที่แรเงาไม่เจอ สมมติว่าถ้าแรเงาตรงกลาง จะได้ ค 18. ง 19. ข 20. ก 21. ข 22. ข 23. ข 24. ค 25. ?? หาที่แรเงาไม่เจอ สมมติว่าถ้าแรเงาริมสองข้าง จะได้ ข 26. ง 27. ค 28. ค 29. ค 30. ก ตอนที่ 2. 1. 303363 2. 30 3. 2549 4. 8945 5. 274 6. 9 7. 10 8. 7498 9. 0 10. 10052 11. 4 12. 504 13. 18128 14. 18 15. 4 16. 2622 17. 125 18. 1 19. 502 20. 2 21. 75 22. 28570 23. 28098 24. 22 25. ??? ข้อมูลเพียงพอ? 26. เหนื่อย 27. มีเยอะอยู่ 28. 27 29. 1.3125 30. 2
__________________
The Lost Emic <<-- หนังสือเฉลยข้อสอบระดับประถมนานาชาติ EMIC ครั้งที่ 1 - ครั้งที่ 8 ชุดสุดท้าย หลงมา 17 ธันวาคม 2015 22:12 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 4 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ gon เหตุผล: แก้ข้อผิดที่ทักท้วง |
#22
|
|||
|
|||
รบกวนคุณ Gon เฉลยข้อ 10 ตอน 1 ให้หน่อยครับ
|
#23
|
|||
|
|||
ข้อ 10 ตอน 1
$\Delta ABD \sim \Delta COE$ ครับ ข้อ 11 ตอน 1 ง. หรือเปล่าครับ ข้อ 2 ตอน 1 ถ้าให้ $\textrm{f}_{a}(1) = 0$ ได้หรือเปล่าครับ 16 ธันวาคม 2015 08:32 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 3 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ narongratp |
#24
|
||||
|
||||
ข้อ 11 ตอนที่2
$\frac{a}{2-a} =\frac{b}{7-b}=\frac{c}{15-c} $ $\frac{2-a}{a} =\frac{7-b}{b}=\frac{15-c}{c} $ $\frac{2}{a} =\frac{7}{b}=\frac{15}{c} $ $\frac{a}{2} =\frac{b}{7}=\frac{c}{15}=k$......(1) $\frac{a+b+c}{2+7+15}=\frac{a+b+c}{24} =k $ $\frac{-a}{-2} =\frac{-b}{-7}=\frac{c}{15}=k$ $\frac{c-b-a}{15-7-2}=\frac{c-b-a}{6}=k $....(2) (1)=(2) $\frac{c-b-a}{6}=\frac{a+b+c}{24}=k$ $c-b-a=\frac{16\times 6}{24} =4$
__________________
"ถ้าเราล้มบ่อยๆ ในที่สุดเราจะรู้ว่าถ้าจะล้ม ล้มท่าไหนจะเจ็บน้อยที่สุด และรู้อีกว่าต่อไปทำยังไงจะไม่ให้ล้มอีก ดังนั้นจงอย่ากลัวที่จะล้ม"...อาจารย์อำนวย ขนันไทย ครั้งแรกในชีวิตที่สอบคณิตสมาคมคณิตศาสตร์เมื่อปี2533...ผมได้แค่24คะแนน(จากร้อยคะแนน) 16 ธันวาคม 2015 20:35 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ กิตติ |
#25
|
||||
|
||||
รัศมี $R = \sqrt{74}$ จากนั้นผมใช้กฎของไซน์เวอร์ชันสมบูรณ์แบบ
(ซึ่งพิสูจน์ได้ไม่ยากโดยลากเส้นผ่านศูนย์กลางจากจุดยอดของรูปสามเหลี่ยม ABC จุดหนึ่ง) $\frac{b}{\sin B} = 2R $ จะได้ $\frac{AC}{\sin B} = 2\sqrt{74}$ เมื่อรู้ $\sin B$ ก็จะรู้ค่าอื่นตามมาคือ $AD = \frac{63}{5}, AB = \frac{9\sqrt{74}}{5}, DC = \frac{7}{5}\sqrt{19}, BC = \frac{45+7\sqrt{19}}{5}$ จากนั้นใช้สูตร $\Delta = \frac{abc}{4R}$ แทนค่า $AB, BC, CA$ ลงไปก็จบครับ. (ซึ่งพิสูจน์จาก พื้นที่รูปสามเหลี่ยม = $\frac{1}{2}ab\sin C = \frac{1}{2}bc\sin A = \frac{1}{2}ca\sin B$ ร่วมกับของกฎของไซน์เวอร์ชันสมบูรณ์แบบ) อ้างอิง:
ส่วนข้อ 2 ตอน 1 $\textrm{f}_{a}(1) = 0$ ได้ครับ แทน $N = 1$ ลงในสมบัติ (4) ข้อนี้ ถ้าผมโมเมต่อว่ามันมีสมบัติของลอการิทึมทั้งหมดเลยแล้วกัน แต่ยังไม่ได้พิสูจน์ทั้งหมด จะคิดออกมาได้ $\frac{3}{2}$ ว่าง ๆ จะลองพิสูจน์ดูครับ.
__________________
The Lost Emic <<-- หนังสือเฉลยข้อสอบระดับประถมนานาชาติ EMIC ครั้งที่ 1 - ครั้งที่ 8 ชุดสุดท้าย หลงมา 16 ธันวาคม 2015 22:45 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ gon |
#26
|
||||
|
||||
ข้อ 17 ตอนที่ 1 ถ้าแรเงาตรงกลาง ผมคิดได้ ค.
ข้อ 12 ตอนที่ 2 ผมคิดได้ 504 รบกวนผู้รู้ช่วยแนะนำด้วยครับ
__________________
Numbers rule the Universe. |
#27
|
||||
|
||||
ข้อ 12 ตอน 2 ผมคิดได้ 504 เหมือนกันครับ
__________________
"ถ้าเราล้มบ่อยๆ ในที่สุดเราจะรู้ว่าถ้าจะล้ม ล้มท่าไหนจะเจ็บน้อยที่สุด และรู้อีกว่าต่อไปทำยังไงจะไม่ให้ล้มอีก ดังนั้นจงอย่ากลัวที่จะล้ม"...อาจารย์อำนวย ขนันไทย ครั้งแรกในชีวิตที่สอบคณิตสมาคมคณิตศาสตร์เมื่อปี2533...ผมได้แค่24คะแนน(จากร้อยคะแนน) 17 ธันวาคม 2015 12:03 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ กิตติ |
#28
|
||||
|
||||
ข้อ 28 ตอนที่ 2 ลองแยกได้สามกรณีคือ
1. $a_n=n$ เมื่อ $n=1,5$ 2.$a_n>n$ เมื่อ $n>5$ 3.$a_n<n$ เมื่อ $2\leqslant n\leqslant 4$ เมื่อแทนเป็น $a_x,a_y$ จะเกิดกรณีต่างๆดังนี้ 1.$a_x>x$ และ $a_y>y$ เมื่อ $x,y>5$ จะได้ $a_xa_y>xy$ ไม่เกิดกรณี $a_xa_y<xy$ 2.$a_x<x$ และ $a_y<y$ เมื่อ $2\leqslant x,y\leqslant 4$ จะได้ $a_xa_y<xy$ จะเกิดคู่อันดับทั้งหมด 9 คู่อันดับ เขียนแจกแจงได้คือ $(2,2),(2,3),(2,4),(3,2)(3,3),(3,4),(4,2),(4,3),(4,4)$ 3.$a_x>x$ และ $a_y<y$ เมื่อ $x>5$ และ $2\leqslant y \leqslant 4$ แทนค่า $y$ ทีละค่า 3.1 $y=2,a_y=1$ $a_xa_y=a_x$ และ $xy=2x$ จะเกิด $a_xa_y<xy \rightarrow a_x< 2x $ มีค่า $x=6,7$ ได้คู่ลำดับ $(6,2),(7,2)$ 3.2 $y=3,a_y=2$ $a_xa_y=2a_x$ และ $xy=3x$ จะเกิด $a_xa_y<xy \rightarrow a_x< \frac{3}{2} x $ มีค่า $x=6$ ได้คู่ลำดับ $(6,3)$ 3.3 $y=4,a_y=3$ $a_xa_y=3a_x$ และ $xy=4x$ จะเกิด $a_xa_y<xy \rightarrow a_x< \frac{4}{3} x $ ไม่มีค่า $x$ ที่สอดคล้อง กรณีที่ 3 ได้ 3 คู่อันดับคือ $(6,2),(7,2),(6,3)$ 4.$a_x<x$ และ $a_y>y$ เมื่อ $2\leqslant x \leqslant 4$ และ $y>5$ แทนค่า $x$ ทีละค่า จะเกิดแบบเดียวกันกับกรณีที่ 3 ซึ่งได้คู่ลำดับคือ $(2,6),(2,7),(3,6)$ รวม 3 คู่ลำดับ 5.กรณี $a_x=x$ เมื่อ $x=1,5$ จะได้ $a_xa_y<xy \rightarrow a_y<y $ เมื่อ $2\leqslant y \leqslant 4$ ได้คู่อันดับคือ $(1,2),(1,3),(1,4),(5,2),(5,3),(5,4)$ รวม 6 คู่ลำดับ 6.กรณี $a_y=y$ เมื่อ $y=1,5$ จะได้ $a_xa_y<xy \rightarrow a_x<x $ เมื่อ $2\leqslant x \leqslant 4$ ได้คู่อันดับคือ $(2,1),(2,5),(3,1),(3,5),(4,1),(4,5)$ รวม 6 คู่ลำดับ รวมทั้ง 6 กรณีเกิดคู่ลำดับ $9+3+3+6+6=27$ ตอบ 27คู่ลำดับ
__________________
"ถ้าเราล้มบ่อยๆ ในที่สุดเราจะรู้ว่าถ้าจะล้ม ล้มท่าไหนจะเจ็บน้อยที่สุด และรู้อีกว่าต่อไปทำยังไงจะไม่ให้ล้มอีก ดังนั้นจงอย่ากลัวที่จะล้ม"...อาจารย์อำนวย ขนันไทย ครั้งแรกในชีวิตที่สอบคณิตสมาคมคณิตศาสตร์เมื่อปี2533...ผมได้แค่24คะแนน(จากร้อยคะแนน) |
#29
|
||||
|
||||
อ้างอิง:
ข้อ 12 ตอน 2 ผมลืมดูตัวถัดไปครับ รีบไปหน่อย ตอนแรกดูเป็น $a_n = \frac{\frac{1}{n+3} - \frac{1}{n+4}}{\frac{1}{n+4} - \frac{1}{n+5}}$ ที่จริง ต้องเป็น $\frac{\frac{1}{2n+2}-\frac{1}{2n+3}}{\frac{1}{2n+3} - \frac{1}{2n+4}}$ ส่วนข้อ 17. ผมตาลาย วงผิดข้อเอง ต้องเป็นตัวเลือก ค. ถูกแล้วครับ. ข้อ 28 ตอน 2 ผมคิดใหม่แล้วได้เท่ากับของคุณกิตติ ตอนแรกตาผมมองสลับที่ระหว่าง $a_x$ กับ $x$, $a_y$ กับ $y$ และยังลืมไปอีกว่า $x=y$ ได้ด้วย.
__________________
The Lost Emic <<-- หนังสือเฉลยข้อสอบระดับประถมนานาชาติ EMIC ครั้งที่ 1 - ครั้งที่ 8 ชุดสุดท้าย หลงมา 17 ธันวาคม 2015 22:20 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ gon |
#30
|
||||
|
||||
ขอบคุณ คุณ กิตติ และคุณ gon มาก ๆ ครับ
__________________
Numbers rule the Universe. |
หัวข้อคล้ายคลึงกัน | ||||
หัวข้อ | ผู้ตั้งหัวข้อ | ห้อง | คำตอบ | ข้อความล่าสุด |
ช่วยแก้โจทย์ด้วยครับ (ข้อสอบค่าย สพฐ.2558) | Pitchayut | ปัญหาคณิตศาสตร์ ประถมปลาย | 4 | 08 กรกฎาคม 2020 23:59 |
ข้อสอบ สสวท.ป.3 2558 | three | ข้อสอบในโรงเรียน ประถมต้น | 10 | 15 พฤษภาคม 2016 20:32 |
ข้อสอบสมาคม 2558 ข้อ18,19,25อยากได้วิธีคิดค่ะ | เอบี | ข้อสอบในโรงเรียน ประถมปลาย | 2 | 05 ธันวาคม 2015 19:19 |
Fe ค่าย2 ปี2558 ศูนย์สวนกุหลาบ | กขฃคฅฆง | ข้อสอบโอลิมปิก | 18 | 12 พฤษภาคม 2015 16:24 |
ข้อสอบค่าย3 2558 ศูนย์สวนกุหลาบ | กขฃคฅฆง | ข้อสอบโอลิมปิก | 6 | 02 พฤษภาคม 2015 16:19 |
เครื่องมือของหัวข้อ | ค้นหาในหัวข้อนี้ |
|
|