#31
|
||||
|
||||
อ้างอิง:
ถ้าแทนเสร็จ จัดรูป จะได้สมการ $4x^2-6\sqrt{3}x+3=0$ |
#32
|
|||
|
|||
ขอบคุณครับ
|
#33
|
|||
|
|||
ข้อ23 มีวิธีคิดแบบง่ายๆไหมครับ ผมต้องใช้การถึกถึงจะได้คำตอบ= 1/5
|
#34
|
|||
|
|||
ข้อ 13. คุณ gon น่าจะกำหนดให้มุม QAR เป็นมุม AQB รึเปล่าครับ
|
#35
|
||||
|
||||
อ้างอิง:
$\sin A \cos A = \dfrac{1}{\sqrt{5}}$ จาก $\sin^2 A + \cos ^2 A =1$ ยกกำลังสอง $\sin^4 A + 2\sin^2A \cos^2A+\cos ^4 A=1$ จะได้ $\sin^4A+\cos^4A=\dfrac{3}{5}$ ต่อมา $\sin^6A+\cos^6A=(\sin^2A+\cos^2A)(\sin^4A-\sin^2A\cos^2A+\cos^4A)=\dfrac{2}{5}$ ดังนั้น $(\sin^4A+\cos^4A)(\sin^6A+\cos^6A)=\dfrac{6}{25}$ $\sin^{10}A+\cos^{10}A+\sin^4A\cos^4A(\sin^2A+\cos^2A)=\dfrac{6}{25}$ จะได้ $\sin^{10}A+\cos^{10}A=\dfrac{1}{5}$
__________________
----/---~Alice~ จงรับรู้ไว้ ชื่อแห่งสีสันหนึ่งเดียวที่แสดงผล ---/---- ~Blue~ นี่คือ สีแห่งความหลังอันกว้างใหญ่ของเว็บบอร์ดนี้ 14 กุมภาพันธ์ 2016 22:18 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 3 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ Thgx0312555 |
#36
|
||||
|
||||
13. Another Alternative Solution ที่ออกไปทางเรขาครับ
ยืมรูปหน่อย โดยไม่เสียนัยทั่วไป จะสามารถให้ $AB=1$ จากกฎของ cosine $RP^2=AR^2+AP^2-2AR\cdot AP\cos RAP$ $\dfrac{2}{3}AP^2=AR^2+AP^2-2AR\cdot AP\cdot \dfrac{AR}{AB}$ $0=AR^2+\dfrac{1}{3}AP^2-2AR^2\cdot AP$ $AR^2(2AP-1)=\dfrac{1}{3}AP^2$ $\therefore \dfrac{AP^2}{AR^2}=6AP-3$ แต่โดยสามเหลี่ยมคล้าย $\dfrac{AP^2}{AR^2}=\dfrac{AQ^2}{AR^2}=\dfrac{BQ^2}{AB^2}=BQ^2=AQ^2+AB^2=AP^2+1$ ดังนั้น $AP^2+1=6AP-3$ $AP^2-6AP+4=0$ $AP=\dfrac{6 \pm \sqrt{20}}{2}=3 \pm \sqrt{5}$ แต่ $AP<1$ จึงเลือกค่า $AP=3-\sqrt{5}$ ครับ
__________________
----/---~Alice~ จงรับรู้ไว้ ชื่อแห่งสีสันหนึ่งเดียวที่แสดงผล ---/---- ~Blue~ นี่คือ สีแห่งความหลังอันกว้างใหญ่ของเว็บบอร์ดนี้ |
#37
|
|||
|
|||
อ้างอิง:
ผมก็คิดแบบนี้เช่นกัน เห็นสมาชิกหลายๆ ท่าน มักจะมีวิธีคิดหลายๆ แบบมานำเสนออยู่เสมอครับ อย่างเช่น ข้อ 13 ที่คุณ Thgx0312555 นำเสนอ 15 กุมภาพันธ์ 2016 07:30 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ Uncle Laem |
#38
|
||||
|
||||
อ้างอิง:
ข้อ 23 ตรง $\sin^6A + \cos^6A $ อาจจะคิดมาจากเอกลักษณ์ ถ้า $a+b+c=0$ แล้ว $a^3+b^3+c^3=3abc$ ก็ได้ครับ. กล่าวคือเนื่องจาก $\sin^2A + \cos^2A +(-1) = 0$ ดังนั้น $\sin^6A + \cos^6A -1 = -3\sin^2A\cos^2A = -\frac{3}{5}$ |
#39
|
|||
|
|||
เห็นแต่ละวิธีแล้วเจ๋งๆทั้งนั้นเลย อยากรบกวนข้อ 14 ด้วยครับ ขอบคุณล่วงหน้าครับ
|
#40
|
|||
|
|||
อ้างอิง:
สี่เหลี่ยม ABCE ล้อมรอบวงกลม จะได้ AB + CE = AE + BC เพราะฉะนั้น CE = $a+x-1$ สามเหลี่ยม CDE ใช้พีทาโกรัสจะได้ว่า $(a+x-1)^2 - (a-x)^2 = 1$ $(2a-1)(2x-1) = 1$ $x = \frac{(\frac{1}{2a-1} + 1)}{2} = \frac{a}{2a-1}$ สามเหลี่ยม CDE จากสูตรหารัศมีวงกลมแนบในสามเหลี่ยม $r = \frac{2*พื้นที่สามเหลี่ยม}{ผลบวกของด้าน}$ $r = \frac{2*\frac{1}{2}*(a-x)(1)}{2a} = \frac{a-x}{2a} = \frac{a-1}{2a-1}$ จากโจทย์ $r = a - \sqrt{3}$ ดังนั้น $a - \sqrt{3} = \frac{a-1}{2a-1}$ แก้สมการได้ $a = \frac{\sqrt{3} + 1 \pm \sqrt{2}}{2}$ เลือกเครื่องหมายบวกเพราะว่า $a$ ต้องมากกว่า $1$ (จากรูป) $\therefore a + r = 2a - \sqrt{3} = 1 + \sqrt{2}$ |
#41
|
||||
|
||||
แลกเปลี่ยนแนวคิดข้อ 14 ครับ
นานๆ แวะมาครับ
แนวคิดตามรูปครับ 17 กุมภาพันธ์ 2016 05:48 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ sahaete |
#42
|
|||
|
|||
ขอบคุณผู้รู้ทุกท่าน อยากรบกวนอีกสัก 3 ข้อนะครับ หาคำตอบจาก Wolfram ได้แต่ไม่รู้จะคิดจริงอย่างไร
|
#43
|
|||
|
|||
ข้อ 5.
$\frac{ab-1}{(a-1)(b-1)} = 1+\frac{a+b-2}{(a-1)(b-1)} = 1+\frac{1}{a-1}+\frac{1}{b-1}$ ให้ $x = 2^{\frac{1}{3}}$, $y = 3^{\frac{1}{3}}$ ได้ $1+\frac{1}{a-1}+\frac{1}{b-1} = 1+\frac{1}{x^2+x+1}+\frac{1}{x^2+xy+y^2}$ $= 1+\frac{x-1}{x^3-1}+\frac{y-x}{y^3-x^3}$ แทนค่าคืน จะได้ $= 1+2^{\frac{1}{3}}-1+3^{\frac{1}{3}}-2^{\frac{1}{3}} = 3^{\frac{1}{3}}$ เพราะฉะนั้น ตอบ 3 ====================== ข้อ 8. เส้นตรง 2 เส้นมีจุดตัดมากกว่า 1 จุดมีกรณีเดียวคือต้องเป็นเส้นตรงเดียวกัน เพราะฉะนั้น $\frac{a}{c}=\frac{b}{d}=\frac{p}{q}$ ก็ไล่แทนค่าทีละตัวเลือกเอาครับ เช่น A. $a^2dq=ad*aq=bc*pc=bc^2p$ จะได้ว่า B กับ C ไม่จำเป็นต้องเป็นจริง ====================== ข้อ 10. $x^2+axy+y^2+a^{2016}=(x+\frac{ay}{2})^2+y^2-\frac{a^2y^2}{4}+a^{2016}$ $= (x+\frac{ay}{2})^2+(\frac{4-a^2}{4})y^2+a^{2016}$ ถ้าพจน์ตรงกลางมีสัมประสิทธิ์เป็นบวกหรือศูนย์ ทั้งก้อนนี้ก็จะเป็นบวกเสมอ เพราะฉะนั้น $a = 1$ 02 กันยายน 2016 20:12 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 2 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ otakung |
#44
|
|||
|
|||
ขอขอบคุณ คุณ otakung มากเลยครับ ผมว่าข้อสอบยากกว่าปีก่อนนะครับเนี่ย
|
#45
|
|||
|
|||
ของปี 58, 57 ยังไม่ได้ลองทำเลยครับ แต่เทียบกับปี 56, 55, .. ก็เห็นด้วยครับว่ายากขึ้น แต่ละข้อผมนี่ทำนานเลยกว่าจะออก
|
หัวข้อคล้ายคลึงกัน | ||||
หัวข้อ | ผู้ตั้งหัวข้อ | ห้อง | คำตอบ | ข้อความล่าสุด |
ข้อสอบ สพฐ. มัธยมต้น รอบ1 เขตพื้นที่ ปี 2559 | PoomVios45 | ข้อสอบในโรงเรียน ม.ต้น | 18 | 08 ธันวาคม 2018 10:00 |
ข้อสอบ สพฐ ประถมรอบที่ 1 ปี2559 | คusักคณิm | ข้อสอบในโรงเรียน ประถมปลาย | 11 | 05 มีนาคม 2016 22:04 |
สอบแข่งขันของสมาคมคณิตศาสตณืประจำปี 2559 ประกาศแล้วครับ | poonnamar | ข่าวคราวแวดวงประถม ปลาย | 1 | 25 พฤษภาคม 2015 17:00 |
(ข้อสอบ IJSO 2555) วันนี้ใครไปสอบ IJSO บ้างคะ | lookket | ข้อสอบในโรงเรียน ม.ต้น | 70 | 02 เมษายน 2015 15:35 |
เครื่องมือของหัวข้อ | ค้นหาในหัวข้อนี้ |
|
|