Mathcenter Forum  

Go Back   Mathcenter Forum > คณิตศาสตร์มัธยมศึกษา > ปัญหาคณิตศาสตร์ ม.ปลาย
สมัครสมาชิก คู่มือการใช้ รายชื่อสมาชิก ปฏิทิน ข้อความวันนี้

ตั้งหัวข้อใหม่ Reply
 
เครื่องมือของหัวข้อ ค้นหาในหัวข้อนี้
  #1  
Old 11 สิงหาคม 2016, 22:50
กขฃคฅฆง's Avatar
กขฃคฅฆง กขฃคฅฆง ไม่อยู่ในระบบ
บัณฑิตฟ้า
 
วันที่สมัครสมาชิก: 21 เมษายน 2015
ข้อความ: 419
กขฃคฅฆง is on a distinguished road
Default โจทย์ลำดับ

ให้ $a_n = \dfrac{a_{n-1}+a_{n-2}}{1-a_{n-1}a_{n-2}} $ โดยที่ $a_1=1 , a_2=\dfrac{1}{\sqrt{3} } $ จงหา $|a_{2009}|$

ผมลองให้ $a_n = tanb_n $ แต่ก็ไม่หลุดครับ ขอคำแนะนำด้วยครับ
__________________
เหนือฟ้ายังมีอวกาศ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #2  
Old 12 สิงหาคม 2016, 14:05
lek2554's Avatar
lek2554 lek2554 ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณไร้สภาพ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 07 กันยายน 2010
ข้อความ: 1,036
lek2554 is on a distinguished road
Default

ผมแก้โจทย์เป็น $a_1=\frac{1}{\sqrt{3}} ,a_2=1$ plot กราฟไป 24 เดือน เอ๊ย 24 พจนฺ์ ถึงจะครบรอบครับ

Name:  serie1.jpg
Views: 551
Size:  36.0 KB
Name:  serie2.jpg
Views: 544
Size:  41.4 KB
Name:  serie3.jpg
Views: 531
Size:  15.2 KB
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #3  
Old 12 สิงหาคม 2016, 16:10
Thgx0312555's Avatar
Thgx0312555 Thgx0312555 ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ประสานใจ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 12 สิงหาคม 2011
ข้อความ: 885
Thgx0312555 is on a distinguished road
Default

เผื่อจะช่วยครับ
$b_n = F_{n-2}b_1+F_{n-1}b_2$
__________________
----/---~Alice~ จงรับรู้ไว้ ชื่อแห่งสีสันหนึ่งเดียวที่แสดงผล
---/---- ~Blue~ นี่คือ สีแห่งความหลังอันกว้างใหญ่ของเว็บบอร์ดนี้

12 สิงหาคม 2016 16:10 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ Thgx0312555
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #4  
Old 15 สิงหาคม 2016, 22:37
กขฃคฅฆง's Avatar
กขฃคฅฆง กขฃคฅฆง ไม่อยู่ในระบบ
บัณฑิตฟ้า
 
วันที่สมัครสมาชิก: 21 เมษายน 2015
ข้อความ: 419
กขฃคฅฆง is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ lek2554 View Post
ผมแก้โจทย์เป็น $a_1=\frac{1}{\sqrt{3}} ,a_2=1$ plot กราฟไป 24 เดือน เอ๊ย 24 พจนฺ์ ถึงจะครบรอบครับ

Attachment 18827
Attachment 18828
Attachment 18829
โจทย์มันเป็นแบบที่ผมโพสต์จริงๆครับ

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ Thgx0312555 View Post
เผื่อจะช่วยครับ
$b_n = F_{n-2}b_1+F_{n-1}b_2$
ผมยังคิดไม่ออกเลยครับ คิดมาเป็นวันแล้ว
__________________
เหนือฟ้ายังมีอวกาศ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #5  
Old 16 สิงหาคม 2016, 14:04
lek2554's Avatar
lek2554 lek2554 ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณไร้สภาพ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 07 กันยายน 2010
ข้อความ: 1,036
lek2554 is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ กขฃคฅฆง View Post
โจทย์มันเป็นแบบที่ผมโพสต์จริงๆครับ
ผมแทนค่าไป 24 พจน์ ครบรอบเหมือนเดิมครับ
Name:  serie4.jpg
Views: 284
Size:  36.5 KB
Name:  serie5.jpg
Views: 277
Size:  39.6 KB
Name:  serie6.jpg
Views: 271
Size:  20.8 KB
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #6  
Old 16 สิงหาคม 2016, 16:46
Thgx0312555's Avatar
Thgx0312555 Thgx0312555 ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ประสานใจ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 12 สิงหาคม 2011
ข้อความ: 885
Thgx0312555 is on a distinguished road
Default

ว่าจะบอกอยู่ว่ามันไม่ได้ครบรอบ
ถ้าวนต่อมันจะยังไม่ซ้ำครับ

ตรงที่บอกจะเห็นว่าถ้ากำหนดลำดับ $b_1=\dfrac{\pi}{4},b_2=\dfrac{\pi}{3}$ และ $b_n=b_{n-1}+b_{n-2}$
แล้วโดย induction จะได้ $a_n = \tan b_n$ และ $b_n=F_{n-2}b_1+F_{n-1}b_2$ ครับ

เมื่อ $F_n$ แทนลำดับฟีโบนักชี
__________________
----/---~Alice~ จงรับรู้ไว้ ชื่อแห่งสีสันหนึ่งเดียวที่แสดงผล
---/---- ~Blue~ นี่คือ สีแห่งความหลังอันกว้างใหญ่ของเว็บบอร์ดนี้
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #7  
Old 16 สิงหาคม 2016, 20:22
lek2554's Avatar
lek2554 lek2554 ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณไร้สภาพ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 07 กันยายน 2010
ข้อความ: 1,036
lek2554 is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ Thgx0312555 View Post
ว่าจะบอกอยู่ว่ามันไม่ได้ครบรอบ
ถ้าวนต่อมันจะยังไม่ซ้ำครับ
$a_{25}=1,a_{26}=\frac{1}{\sqrt{3}} $

ถ้าแทนค่าต่อมันก็ต้องวน loop เดิมไม่ใช่หรือครับ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #8  
Old 16 สิงหาคม 2016, 22:16
กขฃคฅฆง's Avatar
กขฃคฅฆง กขฃคฅฆง ไม่อยู่ในระบบ
บัณฑิตฟ้า
 
วันที่สมัครสมาชิก: 21 เมษายน 2015
ข้อความ: 419
กขฃคฅฆง is on a distinguished road
Default

ได้แล้วครับ มันวนทีละ 24 ขอบคุณทั้งสองคนมากนะครับ
__________________
เหนือฟ้ายังมีอวกาศ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #9  
Old 17 สิงหาคม 2016, 00:17
Thgx0312555's Avatar
Thgx0312555 Thgx0312555 ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ประสานใจ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 12 สิงหาคม 2011
ข้อความ: 885
Thgx0312555 is on a distinguished road
Default

ผมคงดูไม่ละเอียดเองแหละครับ
แบบนี้ถูกแล้วครับ
__________________
----/---~Alice~ จงรับรู้ไว้ ชื่อแห่งสีสันหนึ่งเดียวที่แสดงผล
---/---- ~Blue~ นี่คือ สีแห่งความหลังอันกว้างใหญ่ของเว็บบอร์ดนี้
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #10  
Old 17 สิงหาคม 2016, 12:49
tngngoapm's Avatar
tngngoapm tngngoapm ไม่อยู่ในระบบ
บัณฑิตฟ้า
 
วันที่สมัครสมาชิก: 13 พฤศจิกายน 2014
ข้อความ: 462
tngngoapm is on a distinguished road
Default

วิธีคิดว่ามันวนทุกๆ24พจน์ โดยไม่ใช้เครื่องคำนวณครับ...........
ลำดับที่ได้จากโจทย์........
$$45,30,75,105,180,285,465,....$$.......$พจน์ที่ี n เกิดจากพจน์ก่อนหน้ามัน 2 พจน์บวกกัน
สามารถเขียนให้อยู่ในรูปลำดับฟิโบนาชีได้คือ$.....$$a_{n}=45F_{n-2}+30F_{n-1},n\geqslant 3$$
โดยที่ $F_{n} $เป็นลำดับฟิโบนาชี......$1,1,2,3,5,8,13,21,34,55,...พจน์ที่ี n เกิดจากพจน์ก่อนหน้ามัน 2 พจน์บวกกันและพจน์ที่1,2=1$
....จากลำดับข้างต้นเราต้องการหาค่า $n$ ทีี่ทำให้ $a_{n}หารด้วย360แล้วเหลือเศษ45 และในขณะเดียวกัน a_{n+1}หารด้วย360แล้วเหลือเศษ30 ก็จะเป็นการได้จุดทัี่มันจะมาวนซ้ำ$
....แต่ความเป็นจริงมันคิดไม่ไหวเพราะตัวหารเป็น360หาเศษไม่ไหวก็เลยต้องใช้เครื่องคำนวณช่วยแล้วหาจุดวนซ้ำ วิธีคิดมือก็ประยุกต์เอาครับ ใช้วิธีการลดทอนตัวหารแล้วใช้ลำดับฟิบอนาชีของเศษจากตัวหารนั้น....
1. $หรม.ของ (45,30)=15$
2. $นำ 15 ไปหาร 360 = 24...จะเป็นตัวหาร$
3. $นำ 15 ไปหาร 45 = 3...จะเป็นพจน์แรก$
4. $นำ 15 ไปหาร 30 = 2...จะเป็นพจน์ที่2$
ลำดับฟิบอนาชีของเศษคือ......$3,2,5,7,12,19,7,...(12+19=31หารด้วย24เหลือเศษ7)$
คิดต่อไปเรื่อยๆ......สรุปได้ $$3,2,5,7,12,19,7,2,9,11,20,7,3,10,13,23,12,11,23,10,9,19,4,23,3,2,5,...ซ้ำพจน์ที่25$$
แสดงว่ารอบของเศษจะซ้ำทุก 24 พจน์
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #11  
Old 17 สิงหาคม 2016, 22:05
Thgx0312555's Avatar
Thgx0312555 Thgx0312555 ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ประสานใจ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 12 สิงหาคม 2011
ข้อความ: 885
Thgx0312555 is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ tngngoapm View Post
วิธีคิดว่ามันวนทุกๆ24พจน์ โดยไม่ใช้เครื่องคำนวณครับ...........
ลำดับที่ได้จากโจทย์........
$$45,30,75,105,180,285,465,....$$.......$พจน์ที่ี n เกิดจากพจน์ก่อนหน้ามัน 2 พจน์บวกกัน
สามารถเขียนให้อยู่ในรูปลำดับฟิโบนาชีได้คือ$.....$$a_{n}=45F_{n-2}+30F_{n-1},n\geqslant 3$$
โดยที่ $F_{n} $เป็นลำดับฟิโบนาชี......$1,1,2,3,5,8,13,21,34,55,...พจน์ที่ี n เกิดจากพจน์ก่อนหน้ามัน 2 พจน์บวกกันและพจน์ที่1,2=1$
....จากลำดับข้างต้นเราต้องการหาค่า $n$ ทีี่ทำให้ $a_{n}หารด้วย360แล้วเหลือเศษ45 และในขณะเดียวกัน a_{n+1}หารด้วย360แล้วเหลือเศษ30 ก็จะเป็นการได้จุดทัี่มันจะมาวนซ้ำ$
....แต่ความเป็นจริงมันคิดไม่ไหวเพราะตัวหารเป็น360หาเศษไม่ไหวก็เลยต้องใช้เครื่องคำนวณช่วยแล้วหาจุดวนซ้ำ วิธีคิดมือก็ประยุกต์เอาครับ ใช้วิธีการลดทอนตัวหารแล้วใช้ลำดับฟิบอนาชีของเศษจากตัวหารนั้น....
1. $หรม.ของ (45,30)=15$
2. $นำ 15 ไปหาร 360 = 24...จะเป็นตัวหาร$
3. $นำ 15 ไปหาร 45 = 3...จะเป็นพจน์แรก$
4. $นำ 15 ไปหาร 30 = 2...จะเป็นพจน์ที่2$
ลำดับฟิบอนาชีของเศษคือ......$3,2,5,7,12,19,7,...(12+19=31หารด้วย24เหลือเศษ7)$
คิดต่อไปเรื่อยๆ......สรุปได้ $$3,2,5,7,12,19,7,2,9,11,20,7,3,10,13,23,12,11,23,10,9,19,4,23,3,2,5,...ซ้ำพจน์ที่25$$
แสดงว่ารอบของเศษจะซ้ำทุก 24 พจน์
วิธีที่ผมจะสื่อก็ประมาณนี้แหละครับ (จริงๆวิธีนี้ก็เหมือนกับวิธีที่แล้ว แค่วิธีที่แล้วนั่งหา tan ทุกพจน์)
เพียงแต่สามารถทำให้ง่ายขึ้นได้ดังนี้
1) ใช้ mod 12 ก็พอเพราะ tan ซ้ำทุก 180 องศาครับ
2) เพิ่อความง่ายขึ้นไปอีกสามารถแยกเป็น mod 4 กับ mod 3 เลย
จริงๆไม่ต้องแยกเป็นลำดับฟีโบนักชีก็ได้ครับเพราะยังไงก็ต้องใช้การวนซ้ำทำอยู่ดี (ตอนแรกคิดว่าอาจจะทีวิธีหาเศษจากลำดับฟีโบนักชีโดยไม่ต้องวนซ้ำ แต่มันไม่มี ก็ทำแบบนี้แหละถูกแล้ว)
__________________
----/---~Alice~ จงรับรู้ไว้ ชื่อแห่งสีสันหนึ่งเดียวที่แสดงผล
---/---- ~Blue~ นี่คือ สีแห่งความหลังอันกว้างใหญ่ของเว็บบอร์ดนี้
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #12  
Old 18 สิงหาคม 2016, 12:38
lek2554's Avatar
lek2554 lek2554 ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณไร้สภาพ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 07 กันยายน 2010
ข้อความ: 1,036
lek2554 is on a distinguished road
Default

วิธีที่ผมแสดงไว้ เวลาทำจริงๆ ก็ไม่ต้องใช้เครื่องคำนวณครับ ต้องเอา 12 หารอยู่แล้ว เพียงแต่ผมขี้เกียจคิดเลข เลยใช้เครื่องช่วยครับ

$tan\frac{19\pi }{12}= tan\left(\,\pi +\frac{7\pi }{12}\right)= tan\frac{7\pi }{12}$
$tan\frac{31\pi }{12}= tan\left(\,2\pi +\frac{7\pi }{12}\right)= tan\frac{7\pi }{12}$
$tan\frac{50\pi }{12}= tan\left(\,4\pi +\frac{2\pi }{12}\right)= tan\frac{2\pi }{12}$
$tan\frac{81\pi }{12}= tan\left(\,6\pi +\frac{9\pi }{12}\right)= tan\frac{9\pi }{12}$
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
ตั้งหัวข้อใหม่ Reply



กฎการส่งข้อความ
คุณ ไม่สามารถ ตั้งหัวข้อใหม่ได้
คุณ ไม่สามารถ ตอบหัวข้อได้
คุณ ไม่สามารถ แนบไฟล์และเอกสารได้
คุณ ไม่สามารถ แก้ไขข้อความของคุณเองได้

vB code is On
Smilies are On
[IMG] code is On
HTML code is Off
ทางลัดสู่ห้อง


เวลาที่แสดงทั้งหมด เป็นเวลาที่ประเทศไทย (GMT +7) ขณะนี้เป็นเวลา 06:01


Powered by vBulletin® Copyright ©2000 - 2024, Jelsoft Enterprises Ltd.
Modified by Jetsada Karnpracha