|
สมัครสมาชิก | คู่มือการใช้ | รายชื่อสมาชิก | ปฏิทิน | ค้นหา | ข้อความวันนี้ | ทำเครื่องหมายอ่านทุกห้องแล้ว |
|
เครื่องมือของหัวข้อ | ค้นหาในหัวข้อนี้ |
#31
|
||||
|
||||
มีคำตอบ (1,18) หนิครับ เท่าที่ผมลองทำๆดูก็ใช้การลงสีอ่ะครับ โดย ระบายคล้าย ตารางหมากรุก เเต่ทเเยงข้างเดียวครับ เเล้วเว้นเเบบกักตา 5ช่องครับ
__________________
"ที่ไหนมีทรัพย์ ที่นั้นมีอาชญากรรม"
"เมื่อตัดสิ่งที่เป็นไปไม่ได้ทิ้งไป สิ่งที่เหลืออยู่ แม้ไม่น่าจะเป็นไปได้ก็ต้องเป็นความจริง" |
#32
|
||||
|
||||
กำหนดตารางมี11คอลัมน์คือA B ... K
12แถวคือ1 2 ... 12 พิจารณาว่าถ้าเราแรเงาที่ช่องD1 K1 C2 J2 B3 I3 A4 H4 G5 F6 E7 D8 K8 C9 J9 B10 I10 A11 H11 G12 รวม20ช่อง จะเห็นได้ว่าบล็อก1x6และ1x7สามารถวางทับช่องที่แรเงาได้มากสุด1ช่องเท่านั้น ดังนั้นต้องมีบล็อกอย่างน้อย 20อัน แต่มีบล็อกเพียง19อัน ทำให้เกิดข้อขัดแย้ง จึงสรุปได้ว่าวางไม่ได้ Creditคุณ p_m.o.c. ครับ
__________________
"ที่ไหนมีทรัพย์ ที่นั้นมีอาชญากรรม"
"เมื่อตัดสิ่งที่เป็นไปไม่ได้ทิ้งไป สิ่งที่เหลืออยู่ แม้ไม่น่าจะเป็นไปได้ก็ต้องเป็นความจริง" 29 เมษายน 2013 22:19 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 2 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ Arsene Lupin |
#33
|
|||
|
|||
อ้างอิง:
พิจารณาการเดินบนด้านของรูปห้าเหลี่ยมด้านเท่ารูปหนึ่ง โดยแต่ละก้าวสามารถเดินจากจุดยอดหนึ่งไปยังจุดยอดอื่นที่ติดกันเท่านั้น จงหาจำนวนเส้นทางการเดินที่จะกลับมายังจุดตั้งต้นหลังเดินไป$n$ก้าว 29 เมษายน 2013 23:03 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ ฟินิกซ์เหินฟ้า |
#34
|
||||
|
||||
คิดว่า ใช้ความสัมพันธ์เวียนเกิด เเต่ยังคิดๆอยู่ว่าจะใช้ยังไงครับ (ไม่ได้ใช้ความสัมพันธ์เวียนเกิดมานานจนขึ้นสนิมหมดละ)
__________________
"ที่ไหนมีทรัพย์ ที่นั้นมีอาชญากรรม"
"เมื่อตัดสิ่งที่เป็นไปไม่ได้ทิ้งไป สิ่งที่เหลืออยู่ แม้ไม่น่าจะเป็นไปได้ก็ต้องเป็นความจริง" |
#35
|
||||
|
||||
มันทำแบบนี้รึเปล่าช่วยดูให้หน่อยสิครับ
ให้จุด ABCDE เป็นจุดกำกับมุมที่เรียงกันของห้าเหลี่ยมดังกล่าง $A_n$ คือจำนวนวิธีเดิน n ก้าวจากจุด A มาที่จุด A $B_n$ คือจำนวนวิธีเดิน n ก้าวจากจุด B หรือ C มาที่จุด A $C_n$ คือจำนวนวิธีเดิน n ก้าวจากจุด D หรือ E มาที่จุด A เราจะได้ว่า $A_n=2B_{n-1}$ $C_n=B_{n-1}+C_{n-1}$ $A_n=2A_{n-2}+2C_{n-2}$ พิจารณา $C_n=B_{n-1}+C_{n-1}$ จะได้ $2(C_n-C_{n-1})=2B_{n-1}=A_n$ พิจารณา $A_n=2A_{n-2}+2C_{n-2}$ ........(1) ได้ $A_{n-1}=2A_{n-3}+2C_{n-3}$ .........(2) (1)-(2); $A_n-A_{n-1}=2A_{n-2}-2A_{n-3}+A_{n-2}$ ดังนั้น $A_n=A_{n-1}+3A_{n-2}-2A_{n-3}$ โดยที่ $n>3 , A_1=0, A_2=2, A_3=0$ 03 พฤษภาคม 2013 16:46 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 3 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ polsk133 |
#36
|
|||
|
|||
มาปลุกหน่อยก็แล้วกันครับ ร้างมาเกือบ 2 ปี แล้ว
10. ให้ $$\prod_{n = 1}^{\infty}(1+nx^{3^n})=a_0+a_1x+a_2x^2+a_3x^3+... $$ จงหาค่าของ $a_{2015}$ |
#37
|
||||
|
||||
อ้างอิง:
sketch of the solutions มั้ง หวังว่าคงถูก เพราะว่า $2015=2202122_3$ แสดงว่า $2015$ ไม่สามารถเขียนให้อยู่ในรูป $3^{x_1}+3^{x_2}+...+3^{x_n}$ สำหรับบาง $x_1,x_2,x_3,...,x_n$ ที่เป็นจำนวนเต็มบวกที่แตกต่างกันได้ นั่นคือไม่สามารถสร้าง $x^{2015}$ จากบรรดา $x^{3^i}$ ต่างๆได้ ทำให้ $a_{2015}=0$ ตอนนี้ยังไม่มีโจทย์คอมบิที่(น่า)สนใจค่ะ ขอลงโจทย์ไว้นิดนึง ซึ่งได้แรงบันดาลใจจากคลาสที่ลงค่ะ 11. กำหนด $A=\{x \in \mathbb{N} \ | \ x \leq 13\}$ และ $f$ เป็นฟังก์ชันจาก $A$ ไป $A$ ที่นิยามโดย $f(1)=2,f(2)=3,f(3)=4,f(4)=1$ $f(5)=6,f(6)=7,f(7)=5$ $f(8)=9,f(9)=8$ และ $f(i)=i$ เมื่อ $i=10,11,12,13$ จงหาจำนวนฟังก์ชั่นหนึ่งต่อหนึ่งทั่วถึง $g$ จาก $A$ ไป $A$ ซึ่ง ฟังก์ชั่น $g \circ f \circ g^{-1} =h$ สอดคล้องกับ $h(9)=8,h(8)=7,h(7)=6,h(6)=9$ $h(5)=4,h(4)=3,h(3)=5$ $h(2)=1,h(1)=2$ และ $h(i)=i$ เมื่อ $i=10,11,12,13$ |
#38
|
|||
|
|||
วิธีทำถูกครับ ส่วนโจทย์ข้อ 11. แบบนี้ผมถือว่าเป็น combi นะครับ แต่ท่าทางจะยากพอสมควรเลยแหละ
|
หัวข้อคล้ายคลึงกัน | ||||
หัวข้อ | ผู้ตั้งหัวข้อ | ห้อง | คำตอบ | ข้อความล่าสุด |
hard combinatorics | dektep | คอมบินาทอริก | 9 | 27 ตุลาคม 2007 22:28 |
combinatorics | juju | คอมบินาทอริก | 1 | 23 เมษายน 2007 20:27 |
ปัญหา Combinatorics | M@gpie | คอมบินาทอริก | 3 | 30 มีนาคม 2007 10:12 |
combinatorics | Rovers | คอมบินาทอริก | 5 | 08 มีนาคม 2006 18:36 |
combinatorics | tana | คอมบินาทอริก | 7 | 13 กรกฎาคม 2004 12:50 |
เครื่องมือของหัวข้อ | ค้นหาในหัวข้อนี้ |
|
|