|
สมัครสมาชิก | คู่มือการใช้ | รายชื่อสมาชิก | ปฏิทิน | ค้นหา | ข้อความวันนี้ | ทำเครื่องหมายอ่านทุกห้องแล้ว |
|
เครื่องมือของหัวข้อ | ค้นหาในหัวข้อนี้ |
#166
|
||||
|
||||
อ้างอิง:
จับมาลบอีกด้านจะได้ $$\frac{1}{1+a^2}+\frac{1}{1+b^2}-\frac{2}{1+ab}=\frac{(a-b)^2(ab-1)}{(1+a^2)(1+b^2)(1+ab)} \leqslant0$$ อสมการจะเป็นสมการเมื่อ $a=b \vee ab=1$ จับยกกำลังสองจะได้ $$\frac{1}{1+a^2}+\frac{1}{1+b^2}+\frac{2}{\sqrt{(1+a^2)(1+b^2)}}\leqslant \frac{4}{1+ab} $$ แต่จากโคชีจะได้ $$\frac{2}{\sqrt{(1+a^2)(1+b^2)}}\leqslant\frac{2}{1+ab} $$ และโดย Lemma 1 จะได้ว่า อสมการข้างบนเป็นจริง อสมการจะเป็นสมการเมื่อ $a=b$ แทน $a=\sqrt{2}x,b=\sqrt{2}y $ ใน lemma 2 จะได้ $$ \frac{1}{\sqrt{1+2x^2} }+\frac{1}{\sqrt{1+2y^2}} \leqslant \frac{2}{\sqrt{1+2xy}}$$ แต่จากสมการ 1 แสดงว่าอสมการเป็นสมการจะได้ $x=y$ แทนลงในสมการ 2 จะได้ $$\sqrt{x(1-2x)}=\frac{1}{9}\Rightarrow 162x^2-81x+1=0 \Rightarrow (x-\frac{1}{4} )^2=\frac{73}{1296} \Rightarrow x= \frac{9\pm \sqrt{73} }{36} $$ $\therefore (x,y)=(\frac{9+\sqrt{73} }{36},\frac{9+\sqrt{73} }{36}),(\frac{9-\sqrt{73} }{36},\frac{9-\sqrt{73} }{36})$ ยากเกินไปครับคุณ -InnoXenT- (สำหรับ ม.ปลายน่ะ) |
#167
|
||||
|
||||
อ้างอิง:
ถ้า $x<1 \Rightarrow \sqrt[4]{x+80}>\frac{3}{2} \sqrt[3]{x+7} $ จะได้ $$\sqrt{x}+\sqrt[3]{x+7} = \sqrt[4]{x+80}>\frac{3}{2} \sqrt[3]{x+7}\Rightarrow 2\sqrt{x}>\sqrt[3]{x+7}\Rightarrow x>1$$ เกิดข้อขัดแย้ง ถ้า $x>1\Rightarrow \sqrt[4]{x+80}<\frac{3}{2} \sqrt[3]{x+7} $ จะได้ $$\sqrt{x}+\sqrt[3]{x+7} = \sqrt[4]{x+80}<\frac{3}{2} \sqrt[3]{x+7}\Rightarrow 2\sqrt{x}<\sqrt[3]{x+7}\Rightarrow x<1$$ เกิดข้อขัดแย้ง $\therefore x=1$ เท่านั้น คิดได้วิธีนี้สวยสุดแล้ว ผมทำวิธีอื่นแล้วเน่ามาก |
#168
|
||||
|
||||
อ้างอิง:
ข้อนี้หลังจากได้ลองดูดีๆ แล้วยังเหลือว่า ตัวเลขอื่นๆ ที่ไม่ใช่ $n=10$ มีตัวอื่นมั้ยที่ทำให้เกิดกำลังสองสมบูรณ์ ซึ่งไม่มี เราจะแสดงได้อย่างไร โดยการสังเกตว่า $(n^2+3n+2)^2-(n^2+3n+1)^2=2n^2+6n+3$ และ $(n^2+3n+1)^2-(n^2+3n)^2=2n^2+6n+1$ ก็คือดูผลต่างของเลขกำลังสอง สองตัวที่อยู่คิดกันครับ แยกคิดออกมาก่อนครับ Case 1: $n>10$ เราจะได้ว่า $3(n-10) > 2n^2 + 6n+1$ ซึ่งเป็นไปไม่ได้ Case 2: $n<-6$ เราจะได้ว่า $3(10-n) > 2n^2+6n+3$ ซึ่งเป็นไปไม่ได้ ตอนนี้เหลือแค่ n ตั้งแต่ -6 ถึง 9 ผมก็นั่งไล่แทนไปเลยครับ (จริงๆ อาจจะมีวิธีที่ดีกว่านี้) ตอนนี้ยังคิดไม่ออกครับ ไล่แทนไปก็จะเห็นว่าไม่มีตัวอื่นแล้วจริงๆครับ
__________________
ต้องสู้ถึงจะชนะ CCC Mathematic Fighting เครียด เลย |
#169
|
||||
|
||||
อ้างอิง:
$\displaystyle\frac{\sin^2{A} + \sin^2{B}+\sin^2{C}}{\cos^2{A}+\cos^2{B}+\cos^2{C}} = 2$ $\displaystyle \Longleftrightarrow 1=\cos^2 A+\cos^2 B+ \cos^2 (A+B)$ $\displaystyle \Longleftrightarrow \sin^2 A = \cos^2 B+\cos^2(A+B) =\cos^2 B+ \cos^2 A\cos^2 B+ \sin^2 A\sin^2 B-2\sin A\sin B\cos A\cos B$ $\displaystyle \Longleftrightarrow \sin^2 A\cos^2 B = \cos^2 B+\cos^2 A\cos^2 B-2\sin A\sin B\cos A\cos B$ $\displaystyle \Longleftrightarrow \cos(A+B)=0$
__________________
Vouloir c'est pouvoir |
#170
|
||||
|
||||
อ้างอิง:
ให้ $ a=\dfrac{3}{2}x, b=\dfrac{3}{2}y, c=\dfrac{3}{2}z, d=\dfrac{3}{2}w \longrightarrow x^6+y^6+z^6+w^6=2^6$ พิจารณาอสมการ power mean $$\left(\dfrac{\dfrac{3}{2}x+t}{5}\right )^{1/1}=\dfrac{1}{2}\left(\frac{x+x+x+t+t}{5}\right)^{1/1}\le \frac{1}{2}\left(\frac{x^6+x^6+x^6+t^6+t^6}{5}\right)^{1/6}\Longrightarrow (a+t)^6\le 5^5\left(\dfrac{3\cdot x^6+2t^6}{2^6}\right)$$ ดังนั้น $\displaystyle (a+\sqrt[6]{13})^6+(b+\sqrt[6]{15})^6+(c+\sqrt[6]{17})^6+(d+\sqrt[6]{19})^6\le 5^5\left(\dfrac{3\cdot(x^6+y^6+z^6+w^6)+2\cdot (13+15+17+19)}{2^6}\right)=5^6$
__________________
Vouloir c'est pouvoir |
หัวข้อคล้ายคลึงกัน | ||||
หัวข้อ | ผู้ตั้งหัวข้อ | ห้อง | คำตอบ | ข้อความล่าสุด |
Problems Collection (First Series) | passer-by | ปัญหาคณิตศาสตร์ทั่วไป | 110 | 24 พฤศจิกายน 2014 16:12 |
รวบโจทย์ MATH PROBLEM | คusักคณิm | ข้อสอบในโรงเรียน ประถมปลาย | 23 | 17 มีนาคม 2010 13:53 |
รวมโจทย์ MATH PROBLEM 2 | คusักคณิm | ข้อสอบในโรงเรียน ประถมปลาย | 11 | 17 พฤศจิกายน 2009 22:27 |
problem-solving math | promath | ฟรีสไตล์ | 3 | 17 พฤษภาคม 2005 23:20 |
!!! gmail math problem !!! | gon | ปัญหาคณิตศาสตร์ทั่วไป | 60 | 03 มกราคม 2005 17:19 |
เครื่องมือของหัวข้อ | ค้นหาในหัวข้อนี้ |
|
|