|
สมัครสมาชิก | คู่มือการใช้ | รายชื่อสมาชิก | ปฏิทิน | ค้นหา | ข้อความวันนี้ | ทำเครื่องหมายอ่านทุกห้องแล้ว |
|
เครื่องมือของหัวข้อ | ค้นหาในหัวข้อนี้ |
#16
|
||||
|
||||
ผมหาข้อไหนมาซ้ำหมดเลยนะครับ ...ข้าน้อยขออภัยข้าน้อยยังอ่อนต่อโลกนัก
ส่วนวิธีทำข้อ1ด้วยวิธีทางลำดับถ้าภายใน2วันนี้ยังไม่มีคนทำผมจะเฉลยให้ดูกันครับ
__________________
$$\int_{0}^{\frac{\pi}{2}}\frac{a\cos x-b\sin x}{a\sin x+b\cos x}dx=\ln\left(\frac{a}{b}\right)$$ BUT $$\int_{0}^{\frac{\pi}{2}}\frac{a\cos x+b\sin x}{a\sin x+b\cos x}dx=\frac{\pi ab}{a^{2}+b^{2}}+\frac{a^{2}-b^{2}}{a^{2}+b^{2}}\ln\left(\frac{a}{b}\right)$$
|
#17
|
||||
|
||||
7.
\[ \begin{array}{l} \sum\limits_{k = 1}^n {\frac{1}{k}} \approx \ln n + \gamma \\ \gamma = 0.577215664901533... \\ \sum\limits_{n = 1}^{1000} {\frac{1}{n}} \approx \ln 1000 + \gamma = 7.48497 \\ \end{array} \] 8. $$\lim_{n\to\infty} (8^n+4^n+2^n)^{1/3}-2^n$$
__________________
โลกนี้มีคนอยู่ 10 ประเภท คือ คนที่เข้าใจเลขฐานสอง และคนที่ไม่เข้าใจ |
#18
|
||||
|
||||
8. แบบมั่วมา ตอบ $\frac{1}{3}$ รึเปล่าครับ
พิจารณา \[ \lim_{n\rightarrow \infty} [ (8^n+4^n+2^n)^{\frac{1}{3}} - 2^n ] = \lim_{n\rightarrow \infty} 2^n \left[ \left(1+\frac{1}{2^n} +\frac{1}{2^{2n}}\right) ^{\frac{1}{3}} -1 \right] \] ให้ $x-1=\frac{1}{2^n}$ จะได้ว่า $\frac{1}{2^{2n}} = x^2-2x+1$ จะเห็นว่า เมื่อ $n \rightarrow \infty$ จะได้ว่า $x \rightarrow 1$ จะได้ว่า \[ \lim_{n\rightarrow \infty} [ (8^n+4^n+2^n)^{\frac{1}{3}} - 2^n ] = \lim_{x \rightarrow 1} \frac{ \sqrt[3]{x^2-x+1} - 1 }{x-1 } = \frac{1}{3} \] 9. ให้ $a_0=1$ และ \[ a_{n+1} = \frac{1}{2} \left( a_n+\frac{2}{a_n}\right), n \geq 1 \] จงแสดงว่าลำดับนี้ลู่เข้าและลู่เข้าสู่ค่าใด? สงสัยจะเบลอไปนิด แก้ไขแล้วครับ แหะๆ
__________________
PaTa PatA pAtA Pon! 06 พฤศจิกายน 2006 14:16 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 3 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ M@gpie |
#19
|
|||
|
|||
คุณ M@gpie เขียนโจทย์ผิดหรือเปล่าครับ
__________________
เกษียณตัวเอง ปลายมิถุนายน 2557 แต่จะกลับมาเป็นครั้งคราว |
#20
|
|||
|
|||
อย่างที่คุณ passer-by บอก โจทย์ข้อ 9. ของคุณ M@gpie น่าจะผิดครับ
ให้ $\{a_n\}$ ลู่เข้าหา $a$ เราจะได้ว่า $a= \frac12 \left( a - \frac{2}{a} \right)$ นั่นคือ $a^2=-2$ ซึ่งไม่มีคำตอบเป็นจำนวนจริง ดังนั้น $\{a_n\}$ ลู่ออกครับ |
#21
|
|||
|
|||
อ้างอิง:
|
#22
|
||||
|
||||
ก็ ถ้าให้ถูกต้องก็ควรใช้ factor $\frac{\sqrt[3]{(x^2-x+1)^2 }+\sqrt[3]{(x^2-x+1)}+1}{\sqrt[3]{(x^2-x+1)^2 }+\sqrt[3]{(x^2-x+1)}+1}$ ครับผม
แต่ถ้าแอบคิดในใจ ผมก็ใช้โลปิตาลครับ อิอิ
__________________
PaTa PatA pAtA Pon! |
#23
|
|||
|
|||
อ๋อ เข้าใจแล้วครับ ถ้างั้นรวมๆแล้วก็คล้ายๆกับที่ผมทำ $$ \lim_{n\to\infty} (8^n+4^n+2^n)^{1/3} -2^n $$ $$= \lim_{n\to\infty} \frac{1+ \frac{1}{2^n} }{ \left( 1 + \frac{1}{2^n} + \frac{1}{4^n} \right) ^{2/3} + \left( 1 + \frac{1}{2^n} + \frac{1}{4^n} \right) ^{1/3} +1} $$ $$= \frac{1}{1+ 1+ 1} = \frac13 $$
|
#24
|
||||
|
||||
10.$$\sum_{n=1}^\infty \frac{n^2}{n^4+4}$$
__________________
โลกนี้มีคนอยู่ 10 ประเภท คือ คนที่เข้าใจเลขฐานสอง และคนที่ไม่เข้าใจ |
#25
|
|||
|
|||
ข้อ 9
จะพิสูจน์ 2 อย่างคือ (i) $ a_n ^2 \geq 2 \quad (n \geq 1) $ (ii) $ a_n-a_{n+1} \geq 0 \quad (n \geq 1)$ ซึ่งเพียงพอจะแสดง existence of limit (i) $ a_{n} = \frac{1}{2} \left( a_{n-1}+\frac{2}{a_{n-1}}\right) \geq \frac{1}{2} \left( 2\sqrt{2}\right) =\sqrt{2} \quad (n \geq 1)$ (ii) ใช้ผลจาก (i) ถ้า $ \lim_{n \rightarrow \infty} a_n = L $ ดังนั้น $ L= \frac{1}{2}\left(L+\frac{2}{L}\right ) \Rightarrow L =\sqrt{2} $ NOTE : เราสามารถ generalize เพื่อสร้าง recurrence relation ในการหา $ \sqrt{c} $ ได้เป็น $ a_{n+1} = \frac{1}{2} \left( a_n+\frac{c}{a_n}\right) $ ต่อด้วย ข้อ 11. ไม่อยากแปล เดี๋ยวจะงงกว่าเดิม Let $ S_n $ be sum of products of the first n natural numbers, taken two at a time Evaluate $$ \frac{2}{3!}+\frac{11}{4!}+\cdots \frac{S_{n-1}}{n!}+\cdots $$
__________________
เกษียณตัวเอง ปลายมิถุนายน 2557 แต่จะกลับมาเป็นครั้งคราว |
#26
|
||||
|
||||
11.$\because S_{n}=(1)(2)+(1)(3)+...+(n-1)n$
$=n(1+2+\cdots+(n-1))+(n-1)(1+2+\cdots+(n-2))+\cdots+2(1+2)$ $\displaystyle{=\frac{n^3-n^2}{2}+\frac{(n-1)^3-(n-1)^2}{2}+\cdots+\frac{2^3-2^2}{2}}$ $\displaystyle{=\frac{1}{24}((n-1)n(n+1)(3n+2))}$ ถ้าให้$a_n$คือพจน์ที่$n$ของอนุกรมดังกล่าวจะได้ว่า $\displaystyle{a_n=\frac{S_{n+1}}{(n+2)!}=\frac{1}{24}\frac{3n+5}{(n-1)!}=\frac{1}{24}\left[( \frac{8}{(n-1)!}+\frac{3}{(n-2)!})\right]}$ $\displaystyle{\sum_{n=1}^{\infty}a_n=\sum_{n=1}^{\infty}\frac{8}{(n-1)!}+\sum_{n=2}^{\infty}\frac{3}{(n-2)!}}=\frac{11e}{24}$
__________________
$$\int_{0}^{\frac{\pi}{2}}\frac{a\cos x-b\sin x}{a\sin x+b\cos x}dx=\ln\left(\frac{a}{b}\right)$$ BUT $$\int_{0}^{\frac{\pi}{2}}\frac{a\cos x+b\sin x}{a\sin x+b\cos x}dx=\frac{\pi ab}{a^{2}+b^{2}}+\frac{a^{2}-b^{2}}{a^{2}+b^{2}}\ln\left(\frac{a}{b}\right)$$
|
#27
|
|||
|
|||
12.
ถ้า $ u_0 > 1 $ และ $ u_{n+1}=u_n^2-u_n+1 \,\, ,n \geq 0 $ (1) พิสูจน์ว่า $ \sum_{n=0}^{\infty} \frac{1}{u_n} $ ลู่เข้า (2) ถ้า $ u_0 = 2 $ หาค่า $ \sum_{n=0}^{\infty} \frac{1}{u_n} $
__________________
เกษียณตัวเอง ปลายมิถุนายน 2557 แต่จะกลับมาเป็นครั้งคราว |
#28
|
|||
|
|||
โจทย์ข้อ 12. น่าสนใจมากครับ
(1) ผมขอเริ่มจากการพิสูจน์ว่า $$ u_0>1 \quad \Rightarrow \quad \lim_{n \to \infty} u_n = \infty $$ ให้ $v_n=u_n-1$ สำหรับทุกจำนวนเต็ม $n\ge0$ ดังนั้น $ v_{n+1} = v_n^2+v_n $ และ $v_0>0$ และเราจึงได้ว่า $v_n>0$ เสมอ และจากที่ $ v_{n+1} - v_n = v_n^2 >0$ ดังนั้น $\{v_n\}$ จึงเป็น (strictly) increasing sequence โดยใช้ induction เราจะพบว่า $v_n>nv_0^2$ (เพราะ $ v_{n+1} = v_n^2+v_n > v_0^2+nv_0^2 = (n+1)v_0^2 $ ) ดังนั้น $$ \lim_{n \to \infty} u_n = \lim_{n \to \infty} v_n+1 = \infty $$ ตามต้องการ และเนื่องจาก $$ \sum_{k=0}^n \frac{1}{u_k} = \sum_{k=0}^n \left( \frac{1}{u_k-1} - \frac{1}{u_{k+1}-1} \right) = \frac{1}{u_0-1} - \frac{1}{u_{n+1}-1} $$ ดังนั้น $$ \sum_{n=0}^\infty \frac{1}{u_n} = \frac{1}{u_0-1} $$ ซึ่งก็คือลู่เข้านั่นเองครับ (2) แทนค่า $u_0=2$ ลงไปในสูตรข้างบน จะได้ผลบวกคือ 1 ครับ ถ้ามีวิธีพิสูจน์แบบอื่นๆ ช่วยบอกกันด้วยนะครับ 19 พฤศจิกายน 2006 01:36 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ warut |
#29
|
|||
|
|||
คุณ Warut แถมสูตร summation ให้เสร็จสรรพเลยนะครับ
สำหรับข้อ 12 ผมเอามาจาก การบ้านใน Review (Chapter 0) ของวิชา Functional Analysis ครับ Alternative Solution: (1) Let $ u_0 = 1+ \epsilon \quad \exists \epsilon > 0 $ It's easy to show that $ u_n \geq 1+ \epsilon(1+ \epsilon)^n $ by induction Since $\frac{1}{u_n} \leq \frac{1}{\epsilon(1+ \epsilon)^n} $ , it follows immediately from Comparison test and geometric series that $ \sum \frac{1}{u_n} $ converges (2) It's easy to show that $ u_n $ is positive increasing sequence. By trying to compute partial sum of first 3-4 terms, we can guess that $$ \sum_{n=0}^N \frac{1}{u_n} = 1- \frac{1}{\prod_{i=0}^N u_i} $$ The above equation can be proved easily by induction on $ N $ By letting $ N \rightarrow \infty $ , it follows that $ \sum_{n=0}^{\infty} \frac{1}{u_n}=1 $ NOTE : ถ้าสังเกตดีๆ series ที่ให้มาในข้อ 12.2 ก็คือ ความพยายามที่จะ represent 1 ในเทอมของ ผลรวม(อนันต์) ส่วนกลับ ของจำนวนนับ (infinite sum of reciprocal of natural number) โดยเริ่มต้นจาก $ 1= \frac{1}{2}+\frac{1}{2} $ จากนั้นก็ extend ผลบวกออกไป โดยเลือกตัวที่ส่วนใกล้เคียง ส่วนของตัวหลังมากที่สุด ซึ่งก็คือ $\frac{1}{3} $ ดังนั้น $ 1= \frac{1}{2}+\frac{1}{3}+\frac{1}{6} $ แล้วก็ extend ผลบวกออกไปเรื่อยๆ โดยมองที่ $ \frac{1}{6} $ แล้วเลือกตัวที่ ส่วนใกล้เคียง 6 มากที่สุด ซึ่งก็คือ $ \frac{1}{7} $ ดังนั้น $ 1= \frac{1}{2}+\frac{1}{3}+\frac{1}{7}+\frac{1}{42} $ จากนั้นก็ repeat ขั้นตอนแบบเดิมไปเรื่อยๆครับ จากการพิสูจน์ข้างต้นยืนยันได้ว่า infinite series ที่เราสร้างนี้ ลู่เข้าครับ
__________________
เกษียณตัวเอง ปลายมิถุนายน 2557 แต่จะกลับมาเป็นครั้งคราว 19 พฤศจิกายน 2006 19:55 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 2 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ passer-by |
#30
|
||||
|
||||
ดีครับ เป็นความรู้ให้กับผมอย่างยิ่ง แหะๆ
__________________
PaTa PatA pAtA Pon! |
หัวข้อคล้ายคลึงกัน | ||||
หัวข้อ | ผู้ตั้งหัวข้อ | ห้อง | คำตอบ | ข้อความล่าสุด |
Alternating series (and Abel's theorem) | Punk | Calculus and Analysis | 3 | 17 กรกฎาคม 2012 21:05 |
Marathon | Mastermander | ฟรีสไตล์ | 6 | 02 มีนาคม 2011 23:19 |
On-Line Encyclopedia of Integer Sequences | warut | งานหรือข่าวคราวคณิตศาสตร์ทั่วไป | 0 | 28 เมษายน 2007 00:28 |
ปัญหาชิงรางวัลข้อที่ 22: Infinite Series | warut | คณิตศาสตร์อุดมศึกษา | 4 | 02 พฤศจิกายน 2006 05:35 |
Series | intarapaiboon | คณิตศาสตร์อุดมศึกษา | 3 | 02 ตุลาคม 2005 10:58 |
เครื่องมือของหัวข้อ | ค้นหาในหัวข้อนี้ |
|
|