|
สมัครสมาชิก | คู่มือการใช้ | รายชื่อสมาชิก | ปฏิทิน | ค้นหา | ข้อความวันนี้ | ทำเครื่องหมายอ่านทุกห้องแล้ว |
|
เครื่องมือของหัวข้อ | ค้นหาในหัวข้อนี้ |
#31
|
|||
|
|||
วิธีทำที่คุณ passer-by แสดงให้ดูนั่นคือเฉลยของอาจารย์ใช่ไหมครับ สูตรใน (2) อันนั้นน่าสนใจมาก ตอนคิดข้อนี้ ผมไม่ได้สังเกตเห็นความสัมพันธ์อันนี้เลย ขอบคุณสำหรับโจทย์ดีๆ และข้อมูลเพิ่มเติมครับ
|
#32
|
|||
|
|||
ที่ผมทำให้ดูเป็น วิธีทำ(แบบย่อ)ที่ทำต่อจาก Hint ที่อาจารย์ให้ไว้อีกทีครับ ส่วนเฉลย น่าจะมาอาทิตย์ที่จะถึงนี่แหละครับ
โจทย์ข้อ12 นี้ ผมหั่นมาแค่บางส่วน (โจทย์แบบ full version เขาก็ถามตัว general formula ที่คุณ Warut ทำเหมือนกันครับ) ว่าแล้วก็ต่อ ข้อ 13 ซึ่งผมมั่นใจว่า ผมไม่ได้ตั้งผิดกระทู้แน่นอน Evaluate $$ \int_0^1 \big \{\frac{1}{x} \big \} \big \{\frac{1}{1-x} \big \} \,\, dx $$ Note : {a} แทน fractional part of a เช่น {5.187}= 0.187 พิจารณา $ \int_0^{\frac{1}{2}}\big \{\frac{1}{x} \big \} \big \{\frac{1}{1-x} \big \} \,\, dx $
__________________
เกษียณตัวเอง ปลายมิถุนายน 2557 แต่จะกลับมาเป็นครั้งคราว |
#33
|
|||
|
|||
โจทย์ข้อ 13. สวยมากครับ สวยจนผมอดใจไม่อยู่จริงๆ
เนื่องจาก $$ \int_0^{\frac12} \{ \frac1x \}\{ \frac{1}{1-x} \} \, dx = \int_{\frac12}^1 \{ \frac{1}{1-y} \}\{ \frac1y \} \, dy \quad ,y=1-x $$ ดังนั้น $$ \int_0^1 \{ \frac1x \}\{ \frac{1}{1-x} \} \, dx = 2 \int_0^{ \frac12 } \{ \frac{1}{x} \}\{ \frac{1}{1-x} \} \, dx $$ $$ =2 \int_1^{\infty} \{u+1\}\{ \frac1u +1\} \frac{du}{(u+1)^2} \quad , u= \frac1x -1 $$ $$ =2 \int_1^{\infty} \{u\}\{ \frac1u \} \frac{du}{(u+1)^2} $$ $$= 2 \int_1^{\infty} \frac{u- \lfloor u \rfloor }{ u(u+1)^2 } \, du $$ $$ =2 \lim_{n \to \infty} \sum_{k=1}^n \left( \int_k^{k+1} \frac{u-k}{ u(u+1)^2 } \, du \right) $$ $$ =2 \lim_{n \to \infty} \sum_{k=1}^n \left( \frac{1}{k+2} + k\ln k + k\ln(k+2) - 2k\ln(k+1) \right) $$ $$ =2 \lim_{n \to \infty} \left( \left( \frac13 + \frac14 + \cdots + \frac{1}{n+2} - \ln(n+1) \right) + n\ln \left( \frac{n+2}{n+1} \right) \right) $$ $$ =2 \left( \left( \gamma -1 -\frac12 \right) +1 \right) = 2\gamma -1 $$ |
#34
|
|||
|
|||
ข้อ 13 ถูกแล้วครับ
Alternative Solution $$ \int_0^{\frac{1}{2}}\big \{ \frac{1}{x} \big\}\big \{ \frac{1}{1-x} \big\} \,\, dx= \sum_{n=2}^{\infty} \int_{\frac{1}{n+1}}^{\frac{1}{n}}\big \{\frac{1}{x} \big \} \big \{\frac{1}{1-x} \big \} \,\, dx = \sum_{n=2}^{\infty} a_n $$ And using the fact that , for each $ a_n $, $ \quad \big \{ \frac{1}{x} \big \} =\frac{1}{x}-n \quad $ and $ \,\, \big \{ \frac{1}{1-x} \big\} = \frac{x}{1-x} $ Next, we'll compute partial sum and the result is $$ s_N = \sum_{n=2}^N \big ( \frac{1}{n+1} + \ln \big ( ( 1+\frac{1}{n})^{n-1}\cdot (1-\frac{1}{n})^{n-1}\big) \big ) $$ After simplifying, we have $$s_N= \sum_{n=3}^N \frac{1}{n} - \ln N + \ln ( 1+\frac{1}{N})^{N} - \ln(1+\frac{1}{N})+\frac{1}{N+1} $$ Let $ N \rightarrow {\infty} $ and multiply with 2, we have got the answer ต่อด้วยข้อ 14 ให้ n เป็นจำนวนนับ และ $ a_n , b_n $ เป็นลำดับของจำนวนจริงบวก ซึ่ง $ a_{n+1} =a_n +\frac{1}{b_n}$ และ $ b_{n+1} =b_n +\frac{1}{a_n}$ หา n มาอย่างน้อย 1 ค่า ที่ไม่ใช่ 1 และทำให้ $ a_n + b_n > 1000 $
__________________
เกษียณตัวเอง ปลายมิถุนายน 2557 แต่จะกลับมาเป็นครั้งคราว 20 พฤศจิกายน 2006 21:18 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 2 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ passer-by |
#35
|
|||
|
|||
14. Note that $a_n, b_n >0$ for all $n\in \mathbb N$.
Without any loss of generality, we will assume from now on that $a_1\ge b_1$. By induction, we can show that $a_n\ge b_n$ for all $n\in \mathbb N$. Therefore, $a_{n+1}=a_n+\frac{1}{b_n}\ge a_n+\frac{1}{a_n}$ for all $n\in \mathbb N$. In particular, $a_2\ge 2$ because the minimum of $x+\frac1x$ for positive real $x$ is 2. Let $c_n:=a_n^2$. Hence, $$ c_{n+1} = a_{n+1}^2 \ge \left( a_n+ \frac{1}{a_n} \right)^2 = c_n + \frac{1}{c_n} +2 > c_n+2. $$ Since $c_2 = a_2^2 \ge 4$, we can prove by induction that $c_n>2n$ for $n\ge3$. If $n\ge 1000^2/2 =500000$, then $c_n>1000^2$, and we have $$ a_n+b_n >a_n= \sqrt{c_n}>1000 $$ as required. |
#36
|
|||
|
|||
เท่าที่สแกนคร่าวๆ ก็ไม่น่าจะมีปัญหาอะไรครับ เดี๋ยวว่างๆผมจะมาแปะวิธีทำของผมให้ดู ระหว่างนี้ใครได้ค่า n ที่น้อยกว่าวิธีของคุณ Warut ก็ตอบกันตามสบายเลยนะครับ
__________________
เกษียณตัวเอง ปลายมิถุนายน 2557 แต่จะกลับมาเป็นครั้งคราว |
#37
|
||||
|
||||
1)With an easily proof we'll find out that the centroid of any triangle
is the same point with it's medial triangle's centroid. So now, We'll let $a_0,b_0,c_0$ be the midpoints of $a,b,c$ respectively and also let $a_{n+1},b_{n+1},c_{n+1}$ be the midpoints of opposite side of $a_n,b_n,c_n$ $\displaystyle{\because a_{n+1}=\frac{b_n+c_n}{2},b_{n+1}=\frac{c_n+a_n}{2},c_{n+1}=\frac{a_n+b_n}{2}}$ $\rightarrow a_{n+1}+b_{n+1}+c_{n+1}=a_n+b_n+c_n,A+B+C=a_n+b_n+c_n$ If we continue drawing a medial triangle again and again we'll get $a_n=b_n=c_n=¢roid $\therefore$coordinate of the centroid is $\displaystyle{\lim_{n\rightarrow\infty}} \frac{a_n+b_n+c_n}{3} = \frac{A+B+C}{3} = \left(\left(\frac{x_0+x_1+x_2}{3}\right), \left(\frac{y_0+y_1+y_2}{3}\right)\right)$
__________________
$$\int_{0}^{\frac{\pi}{2}}\frac{a\cos x-b\sin x}{a\sin x+b\cos x}dx=\ln\left(\frac{a}{b}\right)$$ BUT $$\int_{0}^{\frac{\pi}{2}}\frac{a\cos x+b\sin x}{a\sin x+b\cos x}dx=\frac{\pi ab}{a^{2}+b^{2}}+\frac{a^{2}-b^{2}}{a^{2}+b^{2}}\ln\left(\frac{a}{b}\right)$$
22 ตุลาคม 2007 21:35 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ TOP เหตุผล: เว้นวรรค LaTeX ที่เขียนติดกันยาวเกินไป |
#38
|
|||
|
|||
สำหรับข้อ 14. ถ้าอยากได้ $n$ น้อยกว่านี้ ผมยังลดได้อีกประมาณ 4 เท่าครับ แต่คราวนี้ต้องวิเคราะห์ $b_n$ ร่วมด้วย ถ้ามีเวลาจะแปะให้ดูครับ
|
#39
|
||||
|
||||
\[
\begin{array}{l} 15)Let\;a_{n + 1} \;be\left\{ \begin{array}{l} a_n + \frac{1}{n},a_n^2 < 2 \\ a_n - \frac{1}{n},a_n^2 > 2 \\ \end{array} \right.and\;also\;given\;a_1 = 1 \\ Show\;that\left| {a_n - \sqrt 2 } \right| < \frac{1}{n},\forall n \in N,n>2 \\ \end{array} \]
__________________
$$\int_{0}^{\frac{\pi}{2}}\frac{a\cos x-b\sin x}{a\sin x+b\cos x}dx=\ln\left(\frac{a}{b}\right)$$ BUT $$\int_{0}^{\frac{\pi}{2}}\frac{a\cos x+b\sin x}{a\sin x+b\cos x}dx=\frac{\pi ab}{a^{2}+b^{2}}+\frac{a^{2}-b^{2}}{a^{2}+b^{2}}\ln\left(\frac{a}{b}\right)$$
14 ธันวาคม 2006 23:09 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 2 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ Timestopper_STG |
#40
|
|||
|
|||
14. (Alternative Solution)
Let $ c_n = a_n + b_n $ So $ c_2= (a_1 + \frac{1}{a_1})+ (b_1 + \frac{1}{b_1}) $ It's easy to show that $ c_2 \geq 4 $ by AM-GM inequality. Consider $ (c_{n+1})^2 $ with $ n \geq 2 $ $ \begin{array}{rcl }(c_{n+1})^2 &= & (a_n + b_n)^2 + 2(a_n + b_n)\big (\frac{1}{a_n}+\frac{1}{b_n}\big ) + \big (\frac{1}{a_n}+\frac{1}{b_n}\big )^2 \\ & \geq & (c_n)^2 +2(4)+ \big (\frac{1}{a_n}+\frac{1}{b_n}\big )^2 \\& > & (c_n)^2+ 8 \end{array}$ From above result, we can rewrite inequality in terms of $ c_2$ to be $ (c_{2+k})^2 >(c_2)^2 +8k \geq 16+8k $ Clearly, if we select $ k \geq \frac{1000^2}{8}-2 = 124,998. $ It follows immediately that $ c_{2+k} > 1000 $
__________________
เกษียณตัวเอง ปลายมิถุนายน 2557 แต่จะกลับมาเป็นครั้งคราว |
#41
|
|||
|
|||
อ่า... เป็นโชคดีของผมที่คุณ passer-by มาเฉลยให้ดูซะก่อน ผมเลยไม่ต้องแสดงวิธีเฉิ่มๆออกไป จริงๆที่ผมทำตอนแรกก็เข้ามาทางที่คุณ passer-by แสดงให้ดูแล้วนะ แต่ผมดันไม่เอา $b_n$ มาร่วมคิดด้วย เพราะเดาว่ามันจะทำให้ยุ่งยากขึ้น แต่จากเฉลยจะเห็นว่าผมเดาผิด ทีนี้พอผมเอา $b_n$ กลับมาวิเคราะห์ต่อท้ายเข้าไป เลยกลายเป็นออกนอกลู่นอกทางไปซะงั้น
ส่วนข้อ 15. ของคุณ Timestopper_STG ผมประเมินว่าผมน่าจะทำได้นะครับ แต่ยังไม่รู้เหมือนกันว่าเมื่อไหร่จะมีเวลาได้ทด |
#42
|
|||
|
|||
ก่อนที่ผมจะสาบสูญจาก board ไป 1 เดือนเต็มๆ(จนถึงวันเด็ก) ขอแปะบางข้อทิ้งไว้ก่อน เดี๋ยวจะลืม
16. Simplify $$ \frac{{n \choose 0}}{1^{2}} - \frac{{n \choose 1}}{2^{2}} + \frac{{n \choose 2}}{3^{2}} - \cdots +(-1)^n \frac{{n \choose n}}{(n+1)^{2}} $$ 17. (Cesaro mean) เราเคยพิสูจน์ไป(หลายครั้ง)แล้วว่า ถ้า $ \lim_ {n \rightarrow \infty} a_n = a $ แล้ว $ \lim_ {n \rightarrow \infty} S_n = a $ เมื่อ $ S_n = \frac{a_1+a_2+\cdots +a_n}{n} $ และมีตัวอย่างมากมายที่แสดงว่า ถ้า $ a_n $ เป็น ลำดับที่มีขอบเขต (bounded sequence) แล้วลิมิต ของ $ S_n $ ก็อาจหาค่าได้ ถามว่า จะมีลำดับไม่มีขอบเขต $ a_n $ อยู่บ้างหรือไม่ ที่ลิมิตของ $ S_n $ ก็ยังหาค่าได้ p.s. ไหนๆจะหายตัวไปชั่วคราว ก็ขอสวัสดีปีใหม่ล่วงหน้า Happy new year 2007 มีความสุข เฮง เฮง เฮงกันถ้วนหน้านะครับ
__________________
เกษียณตัวเอง ปลายมิถุนายน 2557 แต่จะกลับมาเป็นครั้งคราว |
#43
|
|||
|
|||
ไม่รู้คุณ passer-by มาแปะโจทย์ข้อ 16. เพื่อชี้แนะวิธีทำข้อ 65. ของคุณ nooonuii ใน Calculus Marathon หรือเปล่า แต่ยังไงผมว่ามันก็ช่วยให้ผมมองเห็นลู่ทาง การแก้ปัญหาของทั้งสองข้อแล้วล่ะ แต่ต้องขอลองมือทำจริงๆก่อนนะครับ ถึงจะมั่นใจว่าทำได้แน่
17. ให้ $$ a_n = \cases{\sqrt n & ,n \, \text{ is a perfect square} \\ 0 & , \text{ otherwise}}$$ จะเห็นว่า $\{a_n\}$ unbounded แต่เราได้ $$ \lim_{n \to \infty} \frac{a_1 + a_2 + \cdots + a_n}{n} = \frac12 $$ คิดว่าตัวอย่างนี้น่าจะใช้ได้นะครับ แต่ไม่รู้จะมีแบบอื่นที่ง่ายกว่านี้อีกหรือเปล่า 05 เมษายน 2007 15:18 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ gon เหตุผล: Tag Post |
#44
|
|||
|
|||
อ้างอิง:
|
#45
|
|||
|
|||
อ้างอิง:
|
หัวข้อคล้ายคลึงกัน | ||||
หัวข้อ | ผู้ตั้งหัวข้อ | ห้อง | คำตอบ | ข้อความล่าสุด |
Alternating series (and Abel's theorem) | Punk | Calculus and Analysis | 3 | 17 กรกฎาคม 2012 21:05 |
Marathon | Mastermander | ฟรีสไตล์ | 6 | 02 มีนาคม 2011 23:19 |
On-Line Encyclopedia of Integer Sequences | warut | งานหรือข่าวคราวคณิตศาสตร์ทั่วไป | 0 | 28 เมษายน 2007 00:28 |
ปัญหาชิงรางวัลข้อที่ 22: Infinite Series | warut | คณิตศาสตร์อุดมศึกษา | 4 | 02 พฤศจิกายน 2006 05:35 |
Series | intarapaiboon | คณิตศาสตร์อุดมศึกษา | 3 | 02 ตุลาคม 2005 10:58 |
เครื่องมือของหัวข้อ | ค้นหาในหัวข้อนี้ |
|
|