#31
|
|||
|
|||
อ้างอิง:
ให้ $x= -z$ สมการจะลดรูปเป็น $2x^2+y^2=y^3\Rightarrow 2x^2=y^2(y-1)$ ดังนั้น $\displaystyle{\frac{y-1}{2}=t^2}$ ซึ่งจะได้ $y=2t^2+1,x=t(2t^2+1)$ Edit (warut): quote โจทย์
__________________
site:mathcenter.net คำค้น 05 พฤษภาคม 2007 22:38 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ warut |
#32
|
||||
|
||||
ผมพลาดเองจริงๆด้วยครับ แหะๆ
43. ฟังก์ชัน $f:\mathbb{R} \rightarrow \mathbb{R} $ ที่นิยามโดย \[ f = \biggl\{ \begin{array}{ll} 1 &;& x\in \mathbb{Q}\\ 0&;& x\in \mathbb{Q}^c\end{array} \] เป็นฟังก์ชันที่มีจุดที่ต่อเนื่อง 44. ถ้า $A_1, A_2, ... $ เป็นเซตเปิด แล้ว ${\displaystyle \bigcup_{n=1}^{\infty}A_n }$ เป็นเซตเปิด 45. ถ้า $A_1, A_2, ...$ เป็นเซตเปิด แล้ว ${\displaystyle \bigcap_{n=1}^{\infty}A_n }$ เป็นเซตเปิด 46. ถ้า $A_1, A_2, ...$ เป็นเซตปิด แล้ว ${\displaystyle \bigcup_{n=1}^{\infty}A_n }$ เป็นเซตปิด 47. ถ้า $A_1, A_2, ...$ เป็นเซตปิด แล้ว ${\displaystyle \bigcap_{n=1}^{\infty}A_n }$ เป็นเซตปิด
__________________
PaTa PatA pAtA Pon! |
#33
|
|||
|
|||
43. เท็จ ครับ ฟังก์ชันนี้ไม่ต่อเนื่องที่ทุกจุด
พิสูจน์ : ให้ $x\in\mathbb{R}$ กรณี 1: $x$ เป็นจำนวนตรรกยะ เนื่องจาก $\mathbb{Q}^c$ เป็น dense set ใน $\mathbb{R}$ เราสามารถสร้างลำดับของจำนวนอตรรกยะ $x_n\to x$ จะเห็นว่า $f(x)=1$ แต่ $f(x_n)=0, \, \forall n\in\mathbb{N}$ ดังนั้น $f(x_n)\not\to f(x)$ กรณี 2: $x$ เป็นจำนวนอตรรกยะ เนื่องจาก $\mathbb{Q}$ เป็น dense set ใน $\mathbb{R}$ เราสามารถสร้างลำดับของจำนวนตรรกยะ $x_n\to x$ จะเห็นว่า $f(x)=0$ แต่ $f(x_n)=1, \,\forall n\in\mathbb{N}$ ดังนั้น $f(x_n)\not\to f(x)$ 44. จริง ตามสัจพจน์ของ Topology 45. เท็จ $\displaystyle{\bigcap_{n=1}^{\infty}\big( -\frac{1}{n},\frac{1}{n}\big) =\{ 0 \}}$ เป็นเซตปิด 46. เท็จ $\displaystyle{\bigcup_{n=1}^{\infty}\big[ \frac{1}{n+1},\frac{1}{n}\big] =(0,1]}$ ไม่เป็นทั้งเซตเปิดและเซตปิด 47. จริง ตามสัจพจน์ของ Topology ป.ล. ยังเหลือข้อ 38,40 ครับ
__________________
site:mathcenter.net คำค้น |
#34
|
||||
|
||||
แหมม พี่ noonuii นี่ รวดเร็วจริงๆครับ เหมาไปเกือบหมดทีเดียว ต่อเลยนะครับ
ให้ $A \in \mathbb{R}^{n \times n} $ ที่มีค่าเฉพาะ (eigenvalue) เป็น $\lambda_1, \lambda_2, ..., \lambda_n$ แล้วจะได้ว่า 48. $ \displaystyle{ \det (A) = \prod_{k=1}^{n} \lambda_i }$ 49. เซตค่าเฉพาะของ $A^{-1} = \{ \frac{1}{\lambda_1}, \frac{1}{\lambda_2}, ..., \frac{1}{\lambda_n} \}$ 50. ผลบวกเฉียงของเมทริกซ์ $ \displaystyle{ trace (A) = \sum_{i=1}^{n}\lambda_i }$
__________________
PaTa PatA pAtA Pon! |
#35
|
||||
|
||||
51.ณ โลกแห่งอุดมคติมีลูกบอลลูกนึงลอยนิ่งอยู่กลางอากาศ
หลังจากนั้นไม่นานเกิดระเบิดออกเป็น2ส่วน(ในแนวระดับ)ให้ชื่อว่าส่วนA,B โดยมีอัตราเร็วหลังระเบิดเป็น$u_A,u_B$ตามลำดับเวลา t ที่เวกเตอร์ความเร็วของทั้ง2วัตถุจะตั้งฉากกันคือที่$\displaystyle{t=\frac{\sqrt{-u_Au_B}}{g}}$
__________________
$$\int_{0}^{\frac{\pi}{2}}\frac{a\cos x-b\sin x}{a\sin x+b\cos x}dx=\ln\left(\frac{a}{b}\right)$$ BUT $$\int_{0}^{\frac{\pi}{2}}\frac{a\cos x+b\sin x}{a\sin x+b\cos x}dx=\frac{\pi ab}{a^{2}+b^{2}}+\frac{a^{2}-b^{2}}{a^{2}+b^{2}}\ln\left(\frac{a}{b}\right)$$
29 ธันวาคม 2006 20:55 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 3 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ Timestopper_STG |
#36
|
||||
|
||||
\[ \displaystyle{\sqrt {2\sqrt {3\sqrt {4\sqrt {...} } } } < \sqrt {1+2\sqrt {1+3\sqrt {1+4\sqrt {1+...} } } } = 3} \]
__________________
โลกนี้มีคนอยู่ 10 ประเภท คือ คนที่เข้าใจเลขฐานสอง และคนที่ไม่เข้าใจ |
#37
|
|||
|
|||
อ้างอิง:
ข้อ 48,50 มอง $A$ ให้เป็น complex matrix เราจะได้ว่ามี invertible matrix $P$ ซึ่งทำให้ $$A=P^{-1}JP$$ เมื่อ $J$ เป็น triangular matrix ที่ main diagonal เป็น eigenvalue ของ $A$ (เราเรียก $J$ ว่า Jordan form ของ $A$) เนื่องจาก trace($AB$) = trace($BA$) เราจะได้ว่า trace($A$) = trace($J$) = ผลบวกของ eigenvalue ของ $A$ เนื่องจาก determinant เป็น multiplicative function เราจะได้ det($A$) = det($J$) = ผลคูณของ eigenvalue ของ $A$ 49. เนื่องจาก $A$ invertible จะได้ว่า det($A$)$\neq 0$ ดังนั้น $0$ ไม่เป็น eigenvalue ของ $A$ ตามข้อ 50 ให้ $v$ เป็น eigenvector ของ $A$ เทียบกับ $\lambda$ จะได้ว่า $Av=\lambda v \Rightarrow \frac{1}{\lambda}v=A^{-1}v$ นั่นคือ $\frac{1}{\lambda}$ เป็น eigenvalue ของ $A^{-1}$
__________________
site:mathcenter.net คำค้น |
#38
|
||||
|
||||
จากข้อ 35. เราทราบว่า
$\displaystyle{\sqrt {2\sqrt {3\sqrt {4\sqrt {...} } } } < 3}$ 52. $\displaystyle{\sqrt {2\sqrt {3\sqrt {4\sqrt {...} } } } > e}$ True or False ?
__________________
โลกนี้มีคนอยู่ 10 ประเภท คือ คนที่เข้าใจเลขฐานสอง และคนที่ไม่เข้าใจ |
#39
|
|||
|
|||
53. มีฟังก์ชันต่อเนื่องจาก [0,1] ไปทั่วถึง $\mathbb{R}$
54. ฟังก์ชันต่อเนื่องที่เป็นฟังก์ชันคาบเป็นฟังก์ชันที่มีขอบเขต 55. มีฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่งและทั่วถึงจาก [0,1] ไปยัง $\mathbb{R}$ 56. พหุนามที่เป็นฟังก์ชันคี่จะมีศูนย์เป็นรากเสมอ 57. มีฟังก์ชันจาก $\mathbb{R}$ ไป $\mathbb{R}$ ที่เป็นทั้งฟังก์ชันคู่และฟังก์ชันคี่เพียงฟังก์ชันเดียวเท่านั้น 58. ทุกฟังก์ชันจาก $\mathbb{R}$ ไป $\mathbb{R}$ สามารถเขียนเป็นผลบวกของฟังก์ชันคู่และฟังก์ชันคี่เสมอ 59. ถ้า $m > n$ แล้ว $\displaystyle{ n^{m^m}<m^{n^m}<m^{m^n}}$ 60. $\displaystyle{\sum_{n=2}^{\infty} \frac{\ln{n}}{2^n}<2}$
__________________
site:mathcenter.net คำค้น |
#40
|
||||
|
||||
60. $\displaystyle{\sum_{n=2}^{\infty} \frac{\ln{n}}{2^n}<2} $
จริง
__________________
โลกนี้มีคนอยู่ 10 ประเภท คือ คนที่เข้าใจเลขฐานสอง และคนที่ไม่เข้าใจ |
#41
|
|||
|
|||
อ้างอิง:
__________________
site:mathcenter.net คำค้น |
#42
|
||||
|
||||
60. Prove:
Since \[\ln x<x\quad,\forall x\in\mathbb{N}\] Hence $$ \sum_{n=2}^\infty\frac{\ln n}{2^n}<\sum_{n=2}^\infty\frac{n}{2^n}=\frac32<2 $$
__________________
โลกนี้มีคนอยู่ 10 ประเภท คือ คนที่เข้าใจเลขฐานสอง และคนที่ไม่เข้าใจ 31 ธันวาคม 2006 23:13 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ Mastermander |
#43
|
||||
|
||||
ชุดนี้ยากจังครับ จะลองคิดไปเรื่อยๆนะครับ
56. จริง พหุนามที่เป็นฟังก์ชันคี่ คือ มีเฉพาะพจน์ที่มีเลขชี้กำลังเป็นเลขคี่เท่านั้น มีศูนย์เป็นรากจริง $Q.E.D.$ 57. จริง ให้ $f$ เป็นฟังก์ชันที่เป็นทั้งฟังก์ชันคู่และฟังก์ชันคี่ นั่นคือ $\; f(-x)=f(x)\; \;$ และ $\; \; f(-x)=-f(x)$ จะได้ว่า $ 2f(x) = f(-x) + f(-x) = f(x) - f(x) = 0 \Rightarrow f(x)=0$ เป็นฟังก์ชันเดียว $Q.E.D.$ 58. จริง Let $\; \displaystyle{ f(x)= \frac{f(x)-f(-x)}{2} + \frac{f(x)+f(-x)}{2} = f_{odd}(x) + f_{even}(x) }\; $ odd part : $\displaystyle{ f_{odd}(x)=\frac{f(x)-f(-x)}{2}}$ and even part : $\displaystyle{f_{even}(x)=\frac{f(x)+f(-x)}{2}}$ นั่นคือ $f$ ใดๆสามารถเขียนในรูปผลบวกของฟังก์ชันคู่และฟังก์ชันคี่ได้เสมอ 61. ให้ $\; \; a, b \; $ เป็นจำนวนจริงที่มากกว่าศูนย์ แล้วจะได้ว่า \[ \sqrt{ab} \leq \frac{a+b}{2} \leq \sqrt{\frac{a^2+b^2}{2}}\] 62. สำหรับทุก $z\in \mathbb{C}, \; \; \; \mid Re(z) \mid + \mid Im(z) \mid \leq \sqrt{2}\mid z \mid$ 63. ให้ $z\in C$ $z$ เป็นจำนวนจริงก็ต่อเมื่อ $z=\bar{z}$
__________________
PaTa PatA pAtA Pon! 31 ธันวาคม 2006 21:01 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ M@gpie |
#44
|
|||
|
|||
61. จริง ทั้งสองอสมการสามารถพิสูจน์โดยใช้ความจริงที่ว่า $(a-b)^2\geq 0$
แถมให้อีกหนึ่งอันครับ $\displaystyle{\frac{2}{\frac{1}{a}+\frac{1}{b}}\leq \sqrt{ab}}$ อสมการนี้พิสูจน์โดยการจัดรูปใหม่เป็น $\displaystyle{\sqrt{\frac{1}{a}\cdot\frac{1}{b}}\leq \frac{\frac{1}{a}+\frac{1}{b}}{2}}$ ซึ่งก็คืออสมการ AM-GM ของ $\displaystyle{\frac{1}{a},\frac{1}{b}}$ นั่นเอง 62. จริง ใช้อสมการที่สองในข้อ 61 หรือใช้ Cauchy-Schwarz inequality ก็ได้ครับ 63. จริง พิสูจน์ตรงๆได้ง่ายมาก Note : ยังเหลือข้อ 38,40,51,52,53,54,55,59
__________________
site:mathcenter.net คำค้น 31 ธันวาคม 2006 23:44 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ nooonuii |
#45
|
||||
|
||||
62.
Let $z=re^{i\phi}$ Then $|z|=r,\;|\Re(z)|+|\Im(z)|=r(|\cos\phi|+|\sin\phi|)$ $r(|\cos\phi|+|\sin\phi|)\leq \sqrt2 r$ ซึ่งจริงเพราะ $\max(|\cos\phi|+|\sin\phi|)=\sqrt2$
__________________
โลกนี้มีคนอยู่ 10 ประเภท คือ คนที่เข้าใจเลขฐานสอง และคนที่ไม่เข้าใจ |
หัวข้อคล้ายคลึงกัน | ||||
หัวข้อ | ผู้ตั้งหัวข้อ | ห้อง | คำตอบ | ข้อความล่าสุด |
Algebra Marathon | nooonuii | พีชคณิต | 199 | 20 กุมภาพันธ์ 2015 10:08 |
Trigonometric Marathon | Mastermander | พีชคณิต | 251 | 24 พฤศจิกายน 2013 21:21 |
Calculus Marathon (2) | nongtum | Calculus and Analysis | 134 | 03 ตุลาคม 2013 16:32 |
Marathon | Mastermander | ฟรีสไตล์ | 6 | 02 มีนาคม 2011 23:19 |
Calculus Marathon | nooonuii | Calculus and Analysis | 222 | 26 เมษายน 2008 03:52 |
เครื่องมือของหัวข้อ | ค้นหาในหัวข้อนี้ |
|
|