#31
|
|||
|
|||
Question 76
Let $ u= e^x $ and integrand is of the form $$ \frac{1}{u(u^2+a^2)} = \frac{1}{a^2}(\frac{1}{u}-\frac{u}{u^2+a^2}) $$ Now we can integrate easily. The answer of this question is $ e^{-2\pi}(\pi-\ln(\sqrt{2})) $ Next question.... Question 77: Evaluate $$ \int_0^{\infty} e^{-x^2}\cos(x) \,\,dx $$
__________________
เกษียณตัวเอง ปลายมิถุนายน 2557 แต่จะกลับมาเป็นครั้งคราว |
#32
|
||||
|
||||
อ้างอิง:
ถ้าไม่จำกัดเขตจะได้ $$ \int \frac{dx}{e^{2x}+e^{2\pi}}=e^{-2\pi}\bigg(x-\frac12 \ln(e^{2\pi}+e^{2x})\bigg) $$ เมื่อใส่ขอบเขตไป จะได้คำตอบคือ $e^{-2\pi}\big(\frac12 \ln(e^{2\pi}+1)-\ln(\sqrt2)\big) $ คุณ passer-by คิดเลขผิดนิดหน่อยครับ เพราะแทน $e^0=0$
__________________
โลกนี้มีคนอยู่ 10 ประเภท คือ คนที่เข้าใจเลขฐานสอง และคนที่ไม่เข้าใจ |
#33
|
||||
|
||||
ขอเปลี่ยนตัวแปรละกันนะครับ จะได้สะดวก
\[ \int_0^{\infty} e^{-t^2} \cos t \;dt = \frac{1}{2}\int_{-\infty}^{\infty} e^{-t^2} \cos t \;dt\] เราสามารถใช้ผลการแปลงฟูริเยร์หาค่าปริพันธ์ข้างบนได้ ให้ $f(t)= e^{-t^2} \cos t $ จะได้ว่า \[ F(\omega ) = \int_{-\infty}^{\infty} e^{-t^2} \cos t \; e^{-j\omega t}\;dt = \frac{\sqrt{\pi}}{2}(e^{-(\omega-1)^2/4} + e^{-(\omega+1)^2/4})\] เมื่อเราให้ $\omega =0$ ดังนั้น $F(0)= \frac{\sqrt{\pi}}{2}(e^{-1^2/4} + e^{-1^2/4}) = \sqrt{\pi}e^{-1/4}$ \[ \int_0^{\infty} e^{-t^2} \cos t \;dt = \frac{\sqrt{\pi}}{2}e^{-1/4}\] แก้ไขให้แล้วครับ ผมลืมตรงเปลี่ยน cos นิดหน่อยครับ อิอิ ข้อนี้น่าจะใช้ Complex integration ทำได้นะครับเลือก contour เจ๋งๆมาซักเส้น
__________________
PaTa PatA pAtA Pon! 15 กุมภาพันธ์ 2007 23:14 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ M@gpie |
#34
|
||||
|
||||
ผมเจอแบบ Generalize เป็น $$ \int_{-\infty}^\infty e^{-ax^2}\cos(kx)\,dx=\sqrt{\frac{\pi}{a}}e^{-\frac{k^2}{4a}} $$
ดังนั้น $ \displaystyle{ \int_0^{\infty} e^{-x^2}\cos(x) \,\,dx =\frac{\sqrt\pi}{2 e^{1/4}}} $
__________________
โลกนี้มีคนอยู่ 10 ประเภท คือ คนที่เข้าใจเลขฐานสอง และคนที่ไม่เข้าใจ |
#35
|
|||
|
|||
ก่อนอื่นต้องขอบคุณน้อง Mastermander สำหรับ correction ของข้อ 76 ครับ
ส่วนคำตอบคุณ M@gpie ตกเลข 2 ไป ตามสูตรที่น้อง Mastermander ลงไว้ครับ (ว่าแต่น้อง Mastermander กะจะ take ทั้ง Laplace transform และ fourier transform ให้เป็นก่อนเข้าปี 1 เลยหรือครับเนี่ย ) อืมมม...จริงๆแล้ว ผมก็ไม่ได้กะให้เล่นอาวุธสำเร็จรูปอย่าง Fourier transform หรอกครับ สงสัยคุณ M@gpie คงกำลังดำดิ่งอยู่ในห้วงของ Lebesgue integration จึงใช้วิธีนี้ เพราะ fourier transform จะ work properly กับ Lebesgue integration ครับ มาดูวิธีแบบค่อนข้าง soft กันบ้าง Define $ f(t) = \int_0^{\infty} e^{-x^2}\cos(xt) \,\, dx $ Differentiate under integral sign, then we have $ f '(t) = -\int_0^{\infty} xe^{-x^2}\sin(xt) \,\, dx $ Integrate by parts $ (u= \sin(xt) \,\, dv= xe^{-x^2} dx) $ and we get $ f '(t) = -\frac{t}{2}\int_0^{\infty} e^{-x^2}\cos(xt) \,\, dx =-\frac{t}{2}f(t) $ Observe that $ f(0)= \int_0^{\infty} e^{-x^2} \,\, dx =\frac{\sqrt{\pi}}{2} $ Now we have simple linear ODE order 1 with initial condition. After solving, we get $ f(t)=\frac{\sqrt{\pi}}{2}e^{\frac{-t^2}{4}} $ And substitute $ t=1$ ,we have got the solution ! NOTE : $ f(t) $ and $ f'(t) $ are both valid by M-test for uniform convergence of integral,that is, $$ \mid e^{-x^2}\cos(xt) \mid \leq e^{-x^2} \,\,\text{and} \int_0^{\infty} e^{-x^2} \,\, dx \,\,\text{converges} $$ $$ \mid xe^{-x^2}\sin(xt) \mid \leq xe^{-x^2} \,\, \text{and} \int_0^{\infty} xe^{-x^2} \,\, dx \,\, \text{converges}$$ ตรง Note ผมแค่เสริมเข้าไปให้วิธีทำมัน complete ครับ ถ้าใครอ่านแล้วงง ก็ลองเปิดตำรา Maths มหาวิทยาลัยแล้วกันนะครับ
__________________
เกษียณตัวเอง ปลายมิถุนายน 2557 แต่จะกลับมาเป็นครั้งคราว |
#36
|
||||
|
||||
วิธีที่ผมใช้เป็นวิธีที่เอาไปใช้เลยที่ผมใช้น่ะครับโดยไม่ต้องรู้ถึง Lebesgue integration ก็ได้ ครับ เพราะเป็นแค่ส่วนเติมเต็มของทฤษฎีเฉยๆ
ตัวทฤษฎีฟูริเยร์ จริงๆ เอาไว้มีโอกาสคงได้ไป(ขอ)เรียนปีหน้าครับ ข้อนี้รู้สึกจะเป็นข้อสอบมิดเทอมวิชา Signal and system ปีนี้ด้วยครับ ได้ 0 กันไปค่อนภาค ราบคาบ
__________________
PaTa PatA pAtA Pon! |
#37
|
||||
|
||||
เฉลยข้อ 67 ตามสัญญาครับ อย่างที่คุณ warut ได้บอกที่ผิดของโจทย์ข้อนี้มาแล้ว จะได้ช่วยกันดูด้วยว่าผู้เขียนพลาดตรงไหน
โดยอาศัยแนวคิดนี้ น่าจะัช่วยตอบคำถามข้อหนึ่งในกระทู้ถูกผิดมาราธอนได้นะครับ
__________________
คนไทยร่วมใจอย่าใช้ภาษาวิบัติ ฝึกพิมพ์สัญลักษณ์สักนิด ชีวิต(คนตอบและคนถาม)จะง่ายขึ้นเยอะ (จริงๆนะ) Stay Hungry. Stay Foolish. |
#38
|
|||
|
|||
ผมผิดเองครับ ลืมไปว่าเขากำหนดไว้ว่า $f(t)\ge0$ เสมอ
|
#39
|
||||
|
||||
78. Compute $$\int_0^\infty \arctan\dfrac{\Theta^2}{x^2}\,dx$$
__________________
โลกนี้มีคนอยู่ 10 ประเภท คือ คนที่เข้าใจเลขฐานสอง และคนที่ไม่เข้าใจ |
#40
|
|||
|
|||
Next question (ไม่น่ายาก)
79. Evaluate $$ \int \!\!\! \int_A \sin\big( \frac{y-x}{y+x} \big) \,\, dA $$ where $A$ is triangular region bounded by $ y= 2- x $ and x- axis , y-axis p.s. ผมเพิ่งสังเกตเห็นว่า วิธีทำในข้อ 77 น่าจะ apply มาทำข้อ 74 ของคุณ timestopper ได้ ซึ่งอาจต้อง diff 2 ครั้ง (แต่ผมยังไม่ได้ลองนะครับ แค่ assume ว่าน่าจะทำได้)
__________________
เกษียณตัวเอง ปลายมิถุนายน 2557 แต่จะกลับมาเป็นครั้งคราว 28 กุมภาพันธ์ 2007 20:22 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ passer-by |
#41
|
||||
|
||||
79. ขอทำแบบลัดนิดนึงนะครับ
จากพื้นที่ของการอินทิเกรต $A =\{ (x,y) \; | x\geq 0,\; \; y\geq 0,\;\; x+y \leq 2 \}$ ทำการเปลี่ยนตัวแปรโดยให้ $ u=y-x, \; \; v=y+x \;\;$ และพื้นที่ของการอินทิเกรตจะเปลี่ยนเป็น $S =\{ (u,v) \; | u \geq -v, \; u\leq v,\;\; v\leq 2 \}$ และ Jacobian ของการเปลี่ยนตัวแปรคือ $J(x,y) = -\frac{1}{2}$ จะได้ว่า \[ \int \int_{A} \sin \left( \frac{y-x}{y+x}\right) dA = \int_{0}^{2}\int_{-v}^{v}\sin (\frac{u}{v}) |J(x,y)|dudv\] ซึ่งสามารถอินทิเกรตได้ด้วยการเปลี่ยนตัวแปรปกติ ปล. แก้ไขแล้วครับ ไม่ได้ใช้นานลืม เลยต้องเปิดหนังสือดูก่อน
__________________
PaTa PatA pAtA Pon! 28 กุมภาพันธ์ 2007 21:56 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ M@gpie |
#42
|
|||
|
|||
สังหรณ์ใจนิดๆ ว่าคนที่ตอบข้อนี้ต้องเป็นคุณ M@gpie แล้วก็ทายถูกซะด้วย อิอิ
แต่คุณ M@gpie ใส่ขอบเขตของ $v$ กับค่า Jacobian ยังไม่ถูกนะครับ
__________________
เกษียณตัวเอง ปลายมิถุนายน 2557 แต่จะกลับมาเป็นครั้งคราว |
#43
|
|||
|
|||
อ้างอิง:
Let $ u= \frac{\Theta}{x} $ And integration becomes $$ \Theta \int_0^\infty \dfrac{\arctan u^2}{u^2}\,\, du $$ $$ \begin{array}{rcl} \int_0^\infty \dfrac{\arctan u^2}{u^2}\,\, du &=& \int_0^\infty \dfrac{1}{u^2}\bigg(\int_0^u \dfrac{2v}{1+v^4}\,\, dv\bigg) \,\, du \\ &=& \int_0^\infty\!\!\! \int_0^u \dfrac{2v}{u^2(1+v^4)}\,\, dvdu \\ &=& \int_0^\infty\!\!\! \int_v^{\infty} \dfrac{2v}{u^2(1+v^4)}\,\, dudv \\&=& \int_0^\infty \dfrac{2}{1+v^4}\,\, dv \\&=&\int_0^\infty \dfrac{v^2+1}{v^4+1} - \dfrac{v^2-1}{v^4+1}\,\, dv \\&=& \int_0^\infty \dfrac{1+\frac{1}{v^2}}{v^2+\frac{1}{v^2}} - \dfrac{1-\frac{1}{v^2}}{v^2+\frac{1}{v^2}}\,\, dv \end{array} $$ First integrand : use $ w= v- \frac{1}{v}$ Second integrand : use $ z= v +\frac{1}{v}$ Finally , solution of question 78 is $ \frac{\Theta \pi}{\sqrt{2}} $
__________________
เกษียณตัวเอง ปลายมิถุนายน 2557 แต่จะกลับมาเป็นครั้งคราว |
#44
|
|||
|
|||
ข้อนี้น่าสนใจดี เลยเอามาให้ลองทำดูครับ
80. กำหนดให้ $g$ เป็น twice differentiable function บนจำนวนจริงบวก และ $$ g(x)+ 2x^3g'(x) +x^4g''(x)= 0 \,\, (\forall x >0) $$ $$ \lim_{x\rightarrow \infty} xg(x)=1 $$ หาจำนวนจริง $ a >1 $ ซึ่งทำให้ $g(a) = \frac{1}{2}$
__________________
เกษียณตัวเอง ปลายมิถุนายน 2557 แต่จะกลับมาเป็นครั้งคราว |
#45
|
||||
|
||||
อ้างอิง:
ทำไมพอสลับduกับdvละขอบเขตเปลี่ยนเป็น0ถึงuเป็นvถึง$\infty$ ต้องใช้ความรู้เรื่องอะไรป็นพิเศษรึเปล่าครับ
__________________
$$\int_{0}^{\frac{\pi}{2}}\frac{a\cos x-b\sin x}{a\sin x+b\cos x}dx=\ln\left(\frac{a}{b}\right)$$ BUT $$\int_{0}^{\frac{\pi}{2}}\frac{a\cos x+b\sin x}{a\sin x+b\cos x}dx=\frac{\pi ab}{a^{2}+b^{2}}+\frac{a^{2}-b^{2}}{a^{2}+b^{2}}\ln\left(\frac{a}{b}\right)$$
|
หัวข้อคล้ายคลึงกัน | ||||
หัวข้อ | ผู้ตั้งหัวข้อ | ห้อง | คำตอบ | ข้อความล่าสุด |
Geometry marathon | Char Aznable | เรขาคณิต | 78 | 26 กุมภาพันธ์ 2018 21:56 |
Algebra Marathon | nooonuii | พีชคณิต | 199 | 20 กุมภาพันธ์ 2015 10:08 |
Marathon | Mastermander | ฟรีสไตล์ | 6 | 02 มีนาคม 2011 23:19 |
Inequality Marathon | nongtum | อสมการ | 155 | 17 กุมภาพันธ์ 2011 00:48 |
Calculus Marathon | nooonuii | Calculus and Analysis | 222 | 26 เมษายน 2008 03:52 |
เครื่องมือของหัวข้อ | ค้นหาในหัวข้อนี้ |
|
|