|
สมัครสมาชิก | คู่มือการใช้ | รายชื่อสมาชิก | ปฏิทิน | ค้นหา | ข้อความวันนี้ | ทำเครื่องหมายอ่านทุกห้องแล้ว |
|
เครื่องมือของหัวข้อ | ค้นหาในหัวข้อนี้ |
#31
|
||||
|
||||
วิชาพีชคณิตค่าย 1 ปี 2553
จาก $\left \lfloor {x} \right \rfloor\leqslant x<\left \lfloor {x} \right \rfloor+1$ เราได้ว่า $4(\left \lfloor {x} \right \rfloor)^2-40\left \lfloor {x} \right \rfloor+51\leqslant 4x^2-40\left \lfloor {x} \right \rfloor+51=0<4(\left \lfloor {x} \right \rfloor+1)^2-40\left \lfloor {x} \right \rfloor+51$ เมื่อแก้อสมการออกมาเราจะได้ว่า $\frac{3}{2} \leqslant \left \lfloor {x} \right \rfloor< \frac{5}{2} \vee \frac{11}{2} < \left \lfloor {x} \right \rfloor\leqslant \frac{17}{2} $ แต่ $\left \lfloor {x} \right \rfloor \in \mathbb{Z} \Rightarrow \left \lfloor {x} \right \rfloor=2,6,7,8$ เท่านั้น กรณี$\left \lfloor {x} \right \rfloor=2 \Rightarrow 2\leqslant x<3$แทนในสมการเริ่มต้นได้ว่า $4x^2-40(2)+51=0 \Rightarrow x=\frac{\sqrt{29}}{2} $ กรณี$\left \lfloor {x} \right \rfloor=6 \Rightarrow 6\leqslant x<7$แทนในสมการเริ่มต้นได้ว่า $4x^2-40(6)+51=0 \Rightarrow x=\frac{3\sqrt{21}}{2} $ กรณี$\left \lfloor {x} \right \rfloor=7 \Rightarrow 7\leqslant x<8$แทนในสมการเริ่มต้นได้ว่า $4x^2-40(7)+51=0 \Rightarrow x=\frac{\sqrt{229}}{2} $ กรณี$\left \lfloor {x} \right \rfloor=8 \Rightarrow 8\leqslant x<9$แทนในสมการเริ่มต้นได้ว่า $4x^2-40(8)+51=0 \Rightarrow x=\frac{\sqrt{269}}{2} $ $\therefore x=\frac{\sqrt{29}}{2},\frac{3\sqrt{21}}{2},\frac{\sqrt{229}}{2},\frac{\sqrt{269}}{2}$ ให้ $A=\frac{2x}{1+x},B=\frac{2y}{1+y} $ จะได้ระบบสมการเป็น $A^3+B^3=-7,AB=-2 \Rightarrow (A+B)((A+B)^2-3(-2))=-7\Rightarrow A+B=-1 \Rightarrow (A,B)=(-2,1),(1,-2)$ จะได้ $(\frac{2x}{1+x},\frac{2y}{1+y})=(-2,1),(1,-2) \Rightarrow (x,y)=(-\frac{1}{2},1),(1,-\frac{1}{2})$ จัดรูปเป็น $(x+y)^2+(625-x+y)^2=625^2$ โดย pythagorus triple : $(m^2-n^2)^2+(2mn)^2=(m^2+n^2)^2$ พิจารณา $375^2+500^2=625^2,175^2+600^2=625^2,220^2+585^2=625^2,336^2+527^2=625^2$ จากนั้นแก้สมการสองตัวแปรจะได้คำตอบเป็น $(x,y)=(100,75),(130,90),(217,119),(250,125),(375,125),(408,119),(495,90),(525,75)$ ข้อ 4:จงหาพหุนาม$P(x)$ที่ทำให้$P(x)$หารด้วย$x+1$และ$x-1$ลงตัว แต่$P(x)$หารด้วย$x^3+x^2-1$เหลือเศษ -1 ให้$P(x)=(x-1)(x+1)Q(x)$ จะได้ว่า $P(x)=(x^2-1)Q(x)=(x^3+x^2-1)R(x)-1\Rightarrow 1=(x^3+x^2-1)R(x)-(x^2-1)Q(x)$ จาก Euclidean Algorithm เราได้ $$x^3+x^2-1=(x^2-1)(x+1)+x$$ $$x^2-1=x(x)-1$$ ทำย้อนกลับเราจะได้ว่า $$1=x(x)-(x^2-1)=x((x^3+x^2-1)-(x^2-1)(x+1))-(x^2-1)=(x^3+x^2-1)(x)-(x^2+x+1)(x^2-1)$$ ดังนั้นจึงได้ว่า $P(x)=(x^2-1)(x^2+x+1)=x^4+x^3-x-1$ จัดรูปสมการเป็น $$(x^{2552}-2x^{2551}+x^{2550})+(2x^{2550}-4x^{2549}+2x^{2548})+(3x^{2548}-6x^{2547}+3x^{2546})+...+(1276x^2-2552x+1276)+1277=0 $$ ซึ่งแยกตัวประกอบได้เป็น $$(x-1)^2[x^{2550}+2x^{2548}+3x^{2546}+...+1276]+1277=0$$ จะได้ $L.H.S>0$ดังนั้น สมการโจทย์จึงไม่มีรากที่เป็นจำนวนจริง |
#32
|
||||
|
||||
อ้างอิง:
วิชาที่ควรลงหนักคือทฤษฏีจำนวนกับ FE เพราะเป็นวิชาที่ฉุดได้ดีที่สุด ทฤษฎีจำนวนอาจารย์มักจะออกแนวพิสูจน์ทฤษฎีบทข้อนึงเป็นประจำ ซึ่งถ้าอ่านเข้าใจอย่างถ่องแท้แล้วก็ไม่น่าห่วงอะไรมาก แต่ก็ชอบออกคำนวณอยู่บ้าง ซึ่งแต่ละข้อตัวเลขก็ใช่จะทำเสร็จเร็ว ส่วน FE พี่ไม่แน่ใจว่าอาจารย์คนใหม่เค้ามาประมาณไหน เพราะเคยเจอไม่กี่ครั้งเอง ล่าสุดอาจารย์ก็เล่นเอา FE ซะหนักหนาสาหัสในค่าย 3 ปี 54 มาแล้ว (ข้อนั้นคำตอบเละมาก แต่วิธีทำก็สวยมาก และเป็นโจทย์คลาสสิกระดับหนึ่ง)
__________________
keep your way.
10 มีนาคม 2012 22:06 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 2 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ PP_nine |
#33
|
||||
|
||||
ข้อ 5 จริงๆก็ไม่ยากนะครับ แค่วัดใจคนทำว่ากล้ากระจายหรือเปล่า
อ้างอิง:
จากเงื่อนไขข้อที่ 1 แสดงว่ามีฟังก์ชันสองตัวแปร $a : \mathbb{N}^2 \rightarrow \{ 0,1 \}$ ซึ่งสอดคล้องกับ $$f(m+n)=f(m)+f(n)+a(m,n)$$ ดังนั้น $$f(2)=2f(1)+a(1,1)$$ $$0=2f(1)+a(1,1)$$ แต่ $f(1) \ge 0$ และ $a(1,1) \ge 0$ แสดงว่า $f(1)=0$ เท่านั้น ดังนั้น $$f(3)=f(1)+f(2)+a(1,2)$$ $$f(3)=a(1,2)$$ แต่จากเงื่อนไขบอกว่า $f(3)>0$ แสดงว่า $f(3)=1$ เท่านั้น ประเด็นจะอยู่ต่อจากนี้ไป เราจะเริ่มกระจาย $f(9999)$ โดยลดลงทีละ 3 ดังนี้ $$f(9999)=f(9996)+f(3)+a(9996,3)$$ $$f(9996)=f(9993)+f(3)+a(9993,3)$$ $$f(9993)=f(9990)+f(3)+a(9990,3)$$ $$\vdots$$ $$f(6)=f(3)+f(3)+a(3,3)$$ รวมทุกสมการได้ว่า $$f(9999)=3333f(3)+\sum_{n=1}^{3332} a(3n,3)$$ แทนค่าของฟังก์ชันได้ว่า $$\sum_{n=1}^{3333} a(3n,3)=0$$ แสดงว่าเป็นไปได้กรณีเดียวคือ $$a(3,3)=a(6,3)=a(9,3)= \cdots =a(9996,3)=0$$ นั่นคือ $a(k,3)=0$ เมื่อ $3|k$ และ $3 \le k \le 9996$ แต่ว่า $3|2010$ ในทำนองเดียวกัน แสดงว่า $$f(2010)=f(2007)+f(3)$$ $$f(2007)=f(2004)+f(3)$$ $$\vdots$$ $$f(6)=f(3)+f(3)$$ รวมทุกสมการได้ว่า $$f(2010)=670f(3)$$ นั่นคือ $f(2010)=670$ #
__________________
keep your way.
|
#34
|
|||
|
|||
อ้างอิง:
ที่ผมเข้าใจคือจะทำได้ถ้า $f$ เป็นฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่ง แต่ยังพิสูจน์ไม่ได้ว่า $f$ มีสมบัตินี้จริงๆ
__________________
site:mathcenter.net คำค้น |
#35
|
||||
|
||||
2553 : Combinatorics
อ้างอิง:
ตอบ 365 ให้ $a_n$ แทน จำนวนของสตริงฐานสาม n หลัก ที่ผลบวกของเลขโดดทุกตัวเป็นจำนวนคู่ ให้ $b_n$ แทน จำนวนของสตริงฐานสาม n หลัก ที่ผลบวกของเลขโดดทุกตัวเป็นจำนวนคี่ จะได้ $a_n + b_n = 3^n ...(*)$ หา $a_n$ $a_n = a_{n, 0} + a_{n,1} + a_{n, 2} = a_{n-1} + b_{n-1} + a_{n-1} = 2a_{n-1} + b_{n-1}$ ...(**) แต่จากสมการ (*) จะได้ $b_{n-1} = 3^{n-1} - a_{n-1}$ แทนใน (**) จะได้ $$a_n = a_{n-1} + 3^{n-1} , a_1 = 2, a_2 = 5$$ ดังนั้น $a_6 = 365$ |
#36
|
||||
|
||||
ค่าย 1/2554 Inequality
$$\sum_{cyc} \frac{a^3}{a^2+ab+b^2} \geqslant \frac{a+b+c}{3} $$ Am-gm $a^3+a^3+b^3 \geqslant 3a^2b$ และ $b^3+b^3+a^3 \geqslant 3ab^2$ จะได้ว่า $a^3+b^3 \geqslant a^2b+ab^2$ $3a^3 = 2a^3+a^3 \geqslant 2a^3+a^2b+ab^2-b^3 = 2a^3-a^2b+2a^2b-ab^2+2ab^2-b^3$ $3a^3 \geqslant (2a-b)(a^2+ab+b^2)$ จะได้ว่า $$\sum_{cyc} \frac{a^3}{a^2+b^2+ab} \geqslant \frac{2a-b}{3} = \frac{a+b+c}{3} $$
__________________
Fighting for Eng.CU
10 มีนาคม 2012 20:10 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ Metamorphosis |
#37
|
||||
|
||||
ค่าย 1/2554
อสมการสมมูลกับ $$\sum_{cyc} \frac{a}{\sqrt{2ab+2+a} }\geqslant 1$$ เนื่องจาก $$\sum_{cyc} \frac{a}{\sqrt{a}\cdot \sqrt{2ab+2+a} } \geqslant \sum_{cyc}\frac{a}{a+ab+1} $$ $\dfrac{a}{a+ab+1}+\dfrac{b}{b+bc+1}+ \dfrac{c}{c+ac+1} =\dfrac{a}{a+ab+1}+\dfrac{ab}{ab+abc+a}+ \dfrac{abc}{abc+a(abc)+ab}=1$ ปล. โจทย์เดิมถูกแล้ว
__________________
Fighting for Eng.CU
11 มีนาคม 2012 12:15 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ Metamorphosis |
#38
|
||||
|
||||
ค่าย 1/2553
$a,b,c>0$ $$\sum_{cyc} \frac{a^5}{b^3} \geqslant \sum_{cyc} \frac{a^4}{b^2}$$ วิธีทำ คูณ $(abc)^3$ ทั้งสองข้างจะำได้ $a^3b^8+b^3c^8+c^3a^8 \geqslant a^7bc^3+b^7ca^3+c^7ab^3$ Weighted Am-gm inequality $\dfrac{5(a^3b^8)}{49} +\dfrac{41(a^8c^3)}{49}+\dfrac{3(c^8b^3)}{49} \geqslant \sqrt[49]{a^{343}b^{49}c^{147}}=a^7bc^3 $ $\dfrac{3(a^3b^8)}{49} +\dfrac{5(a^8c^3)}{49}+\dfrac{41(c^8b^3)}{49} \geqslant \sqrt[49]{c^{343}a^{49}b^{147}}=c^7ab^3 $ $\dfrac{41(a^3b^8)}{49} +\dfrac{3(a^8c^3)}{49}+\dfrac{5(c^8b^3)}{49} \geqslant \sqrt[49]{b^{343}c^{49}a^{147}}=b^7ca^3 $
__________________
Fighting for Eng.CU
10 มีนาคม 2012 21:25 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 2 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ Metamorphosis |
#39
|
||||
|
||||
ข้อ 6 ผมผิดจริงๆด้วยครับพี่ nooonuii
ก็ว่าอยู่ว่าทำไมมันง่ายแปลกๆ
__________________
keep your way.
|
#40
|
||||
|
||||
#38 โหดขิง นึกไม่ถึงเลยครับ
|
#41
|
||||
|
||||
#37 AM.-GM. กลับข้างอ่ะครับ - -*
ปล.เห็นด้วยกับ #40 ครับคิดได้ไงอ่ะ 555
__________________
Vouloir c'est pouvoir 11 มีนาคม 2012 07:01 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ จูกัดเหลียง |
#42
|
||||
|
||||
แก้แล้วนะครับ
__________________
Fighting for Eng.CU
|
#43
|
|||
|
|||
มีเฉลยมั้ยครับ ผมคิดมาหลายชั่วโมงแล้วก็ยังมืดมน
__________________
site:mathcenter.net คำค้น |
#44
|
||||
|
||||
ยังไม่ออกเลยครับ
อ้างอิง:
ปรากฎว่ามาติดอยู่อีกหน่อยตรงที่จะพิสูจน์ว่า $F=\mathbb{R}$ นี่แหละครับ เพราะมันมีฟังก์ชันคงที่เป็นอีกคำตอบ
__________________
keep your way.
|
#45
|
||||
|
||||
อ้างอิง:
13 มีนาคม 2012 02:31 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 4 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ polsk133 |
เครื่องมือของหัวข้อ | ค้นหาในหัวข้อนี้ |
|
|