Mathcenter Forum  

Go Back   Mathcenter Forum > คณิตศาสตร์โอลิมปิก และอุดมศึกษา > คณิตศาสตร์อุดมศึกษา
สมัครสมาชิก คู่มือการใช้ รายชื่อสมาชิก ปฏิทิน ค้นหา ข้อความวันนี้ ทำเครื่องหมายอ่านทุกห้องแล้ว

ตั้งหัวข้อใหม่ Reply
 
เครื่องมือของหัวข้อ ค้นหาในหัวข้อนี้
  #1  
Old 30 พฤษภาคม 2018, 07:08
Praphanon Praphanon ไม่อยู่ในระบบ
เริ่มฝึกวรยุทธ์
 
วันที่สมัครสมาชิก: 04 พฤษภาคม 2018
ข้อความ: 14
Praphanon is on a distinguished road
Default Riemannian geometry

ผมเคยได้ยินมาจากอาจารย์ณรงค์ ปั้นนิ่ม ว่า วิชา "คณิตศาสตร์" ไม่เกี่ยวกับตัวเลข ไม่เกี่ยวกับตัวแปร แต่มันคือกระบวนการคิด แต่เพียงเอาตัวเลขและตัวแปรมาเป็นแม่แบบผมอ่านวิชาหนึ่งในคณิตศาสตร์ คือ Riemannian geometry
มันเป็นวิชาที่ทำให้ผมเห็นถึงกระบวนการ ที่ซับซ้อนขึ้นตามลำดับ ทั้งสมมาตรเวกเตอร์บนมานิโฟลด์ มานิโฟลด์ย่อย เวกเตอร์ควบคู่ orientability, curvature,tangent manifold มันใช้ทั้งพื้นฐาน Euclidean space,Group theory,manifold พอยิ่งนึกภาพมันยิ่งซับซ้อน ผมจำคนที่คิดทฤษฎีบทต่างๆไม่ค่อยได้ครับ แต่จะอ่านแนวคิดไป ว่าต่างกันหรือมีหลักเกณฑ์ยังไง มีกระบวนวิธีคิดแบบไหน ผมเคยกังวลว่าถ้าเราอ่านมันไวไปจะจำมันได้หมดไหม แต่พอผมมานั่งคิดดูผมคิดว่าถ้าเรียนคณิตศาสตร์แบบรู้แนวคิดว่ามันเป็นแบบนี้ นึกภาพออกว่าเป็นยังไง แบบนี้ถือว่าผมเข้าใจในคณิตศาสตร์ ไหมครับ ผมอยากยกแนวคิดในคณิตศาสตรํไปต่อยอดในฟิสิกส์ครับ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #2  
Old 20 กุมภาพันธ์ 2021, 16:48
share share ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณไร้สภาพ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 23 เมษายน 2013
ข้อความ: 1,211
share is on a distinguished road
Default

ฅนทั่วไป สมควรมีความรู้คณิตฯ แบบกว้าง ครับ
คือ รู้ว่า แต่ละเรื่องพูดประเด็นอะไร ขอบเขตแค่ไหน ข้อจำกัดอย่างไร
เพื่อนำไปใช้ให้เหมาะสม


Riemannian geometry was first put forward in generality by Bernhard Riemann in the 19th century.
It deals with a broad range of geometries whose metric properties vary from point to point,
including the standard types of non-Euclidean geometry.

Every smooth manifold admits a Riemannian metric, which often helps to solve problems of differential topology.
It also serves as an entry level for the more complicated structure of pseudo-Riemannian manifolds,
which (in four dimensions) are the main objects of the theory of general relativity.
Other generalizations of Riemannian geometry include Finsler geometry.

There exists a close analogy of differential geometry with the mathematical structure of defects in regular crystals. Dislocations and disclinations produce torsions and curvature.[1][2]

20 กุมภาพันธ์ 2021 16:50 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ share
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
ตั้งหัวข้อใหม่ Reply


หัวข้อคล้ายคลึงกัน
หัวข้อ ผู้ตั้งหัวข้อ ห้อง คำตอบ ข้อความล่าสุด
Geometry TME ฟินิกซ์เหินฟ้า ปัญหาคณิตศาสตร์ ม. ต้น 1 30 สิงหาคม 2013 23:03
Geometry TME ม.3 ฟินิกซ์เหินฟ้า ข้อสอบในโรงเรียน ม.ต้น 2 23 สิงหาคม 2013 20:20
เรขาคณิต (Geometry) เอกสารประกอบการบรรยาย ศูนย์สอวน. banker เรขาคณิต 10 24 ธันวาคม 2012 11:49
ช่วยแนะนำหนังสือ geometry The rock เรขาคณิต 3 02 พฤศจิกายน 2012 21:51
ช่วยตอบหน่อยคับ : Geometry ผ่านมา ปัญหาคณิตศาสตร์ ม. ต้น 2 05 มีนาคม 2008 18:11

เครื่องมือของหัวข้อ ค้นหาในหัวข้อนี้
ค้นหาในหัวข้อนี้:

ค้นหาขั้นสูง

กฎการส่งข้อความ
คุณ ไม่สามารถ ตั้งหัวข้อใหม่ได้
คุณ ไม่สามารถ ตอบหัวข้อได้
คุณ ไม่สามารถ แนบไฟล์และเอกสารได้
คุณ ไม่สามารถ แก้ไขข้อความของคุณเองได้

vB code is On
Smilies are On
[IMG] code is On
HTML code is Off
ทางลัดสู่ห้อง


เวลาที่แสดงทั้งหมด เป็นเวลาที่ประเทศไทย (GMT +7) ขณะนี้เป็นเวลา 02:02


Powered by vBulletin® Copyright ©2000 - 2024, Jelsoft Enterprises Ltd.
Modified by Jetsada Karnpracha