Mathcenter Forum  

Go Back   Mathcenter Forum > คณิตศาสตร์โอลิมปิก และอุดมศึกษา > เรขาคณิต
สมัครสมาชิก คู่มือการใช้ รายชื่อสมาชิก ปฏิทิน ค้นหา ข้อความวันนี้ ทำเครื่องหมายอ่านทุกห้องแล้ว

ตั้งหัวข้อใหม่ Reply
 
เครื่องมือของหัวข้อ ค้นหาในหัวข้อนี้
  #1  
Old 05 กรกฎาคม 2018, 17:45
Supermath's Avatar
Supermath Supermath ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณบริสุทธิ์
 
วันที่สมัครสมาชิก: 01 มกราคม 2017
ข้อความ: 125
Supermath is on a distinguished road
Post ช่วยอธิบายเรื่องจุดจวบของเส้นตรงหลายเส้นบนกราฟหน่อยครับ

ตามหัวข้อน่ะครับ มีสูตรที่เเสดงว่าสมการเส้นตรงหลายเส้นจะตัดกันที่จุดเดียว ใหมครับ เเละพิสูจน์ยังไงครับ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #2  
Old 10 สิงหาคม 2018, 15:43
rendv rendv ไม่อยู่ในระบบ
สมาชิกใหม่
 
วันที่สมัครสมาชิก: 04 กรกฎาคม 2007
ข้อความ: 10
rendv is on a distinguished road
Default

ขอตัวอย่างได้มั้ยครับ
ทุกทีเราสามารถหาจุดตัดของสมการเส้นตรงสองสมการได้ แล้วถ้าจุดตัดนั้นสอดคล้องสมการเส้นตรงอื่นก็คือ concurrent อ่าครับ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #3  
Old 19 ตุลาคม 2018, 01:13
PP_nine's Avatar
PP_nine PP_nine ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ประสานใจ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 24 เมษายน 2010
ข้อความ: 607
PP_nine is on a distinguished road
Default

ที่ผมเข้าใจคือว่ามีสมการเชิงเส้นหลายๆอัน แล้วต้องการหาเงื่อนไขว่าเส้นตรงเหล่านี้จะตัดกันที่จุดเดียวกันไหม แบบนี้ถูกไหมครับ? ถ้าใช่ การที่เส้นตรงตัดกันที่จุดเดียว แปลว่าจุดนั้นๆคือคำตอบของสมการทุกอันในระบบ นั่นคือเราต้องแสดงให้ได้ว่าระบบสมการนี้มีคำตอบ หรือไม่ก็แก้จากสองสมการ แล้วเอาคำตอบไปเช็คกับสมการอื่นๆว่าจริงไหม

ถ้าเรียนระดับสูงจะได้เจอในวิชา linear algebra ครับ มีเนื้อหาละเอียดเลยเกี่ยวกับการมีอยู่จริงของคำตอบ
__________________
keep your way.
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #4  
Old 20 ตุลาคม 2018, 22:40
Supermath's Avatar
Supermath Supermath ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณบริสุทธิ์
 
วันที่สมัครสมาชิก: 01 มกราคม 2017
ข้อความ: 125
Supermath is on a distinguished road
Default

ขอบคุณครับ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #5  
Old 01 พฤศจิกายน 2018, 15:49
tngngoapm's Avatar
tngngoapm tngngoapm ไม่อยู่ในระบบ
บัณฑิตฟ้า
 
วันที่สมัครสมาชิก: 13 พฤศจิกายน 2014
ข้อความ: 462
tngngoapm is on a distinguished road
Default

ถ้ามีสมการเส้นตรง3เส้นเช่น....
$$a_1x+b_1y+c_1=0..........(1)$$
$$a_2x+b_2y+c_2=0..........(2)$$
$$a_3x+b_3y+c_3=0..........(3)$$
สร้างเมตริกซ์สัมประสิทธิ์ได้....$A=\bmatrix{a_1 & b_1&c_1 \\ a_2&b_2&c_2\\a_3&b_3 & c_3} $
และถ้า...$det(A)=0$...น่าจะแสดงได้ว่าเส้นตรงทั้งสามเส้นตัดกันที่จุดเดียวกัน
....และถ้ามีหลายๆเส้นก็มีวิธีการทางเวกเตอร์สามมิติผ่านการดำเนินการทางเมตริกซ์ได้ครับ
__________________
ประสบการณ์จะให้ประโยชน์อย่างเงียบๆ เมื่อเราสำนึกถึงข้อมูลในอดีต
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #6  
Old 21 เมษายน 2019, 11:38
tngngoapm's Avatar
tngngoapm tngngoapm ไม่อยู่ในระบบ
บัณฑิตฟ้า
 
วันที่สมัครสมาชิก: 13 พฤศจิกายน 2014
ข้อความ: 462
tngngoapm is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ tngngoapm View Post
ถ้ามีสมการเส้นตรง3เส้นเช่น....
$$a_1x+b_1y+c_1=0..........(1)$$
$$a_2x+b_2y+c_2=0..........(2)$$
$$a_3x+b_3y+c_3=0..........(3)$$
สร้างเมตริกซ์สัมประสิทธิ์ได้....$A=\bmatrix{a_1 & b_1&c_1 \\ a_2&b_2&c_2\\a_3&b_3 & c_3} $
และถ้า...$det(A)=0$...น่าจะแสดงได้ว่าเส้นตรงทั้งสามเส้นตัดกันที่จุดเดียวกัน
และยังสามารถหาพิกัดของจุดตัดของเส้นตรงทั้งสามเส้น$(x',y')$ได้คือ
$$x'=\frac{C_{31}(A)}{C_{33}(A)} $$
$$y'=\frac{C_{32}(A)}{C_{33}(A)} $$
เมื่อ$C_{31}(A)คือโคแฟกเตอร์แถวที่สามหลักที่หนึ่งของเมตริกซ์A$
$C_{32}(A)คือโคแฟกเตอร์แถวที่สามหลักที่สองของเมตริกซ์A$
และ$C_{33}(A)คือโคแฟกเตอร์แถวที่สามหลักที่สามของเมตริกซ์A$
__________________
ประสบการณ์จะให้ประโยชน์อย่างเงียบๆ เมื่อเราสำนึกถึงข้อมูลในอดีต
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #7  
Old 22 เมษายน 2019, 19:57
tngngoapm's Avatar
tngngoapm tngngoapm ไม่อยู่ในระบบ
บัณฑิตฟ้า
 
วันที่สมัครสมาชิก: 13 พฤศจิกายน 2014
ข้อความ: 462
tngngoapm is on a distinguished road
Default

และถ้าสมการเส้นตรง3เส้นนี้ไม่ได้ต้ดกันที่จุดเดียวกันแล้วคือ....
$$a_1x+b_1y+c_1=0..........(1)$$
$$a_2x+b_2y+c_2=0..........(2)$$
$$a_3x+b_3y+c_3=0..........(3)$$
และเส้นตรงเส้นที่หนึ่งสองสามเรียงกันในทิศทวนเข็มนาฬิกาแล้ว
สร้างเมตริกซ์สัมประสิทธิ์ได้....$A=\bmatrix{a_1 & b_1&c_1 \\ a_2&b_2&c_2\\a_3&b_3 & c_3} $
จุดตัดของเส้นตรงสามเส้นนี้จะสร้างรูปสามเหลี่ยมเกิดขึ้น
และสามารถหาพื้นที่ของสามเหลี่ยมนี้ผ่านสมการเส้นตรงทั้งสามคือ
$$พื้นที่สามเหลี่ยม(\triangle )=\frac{[det(A)]^2}{2[C_{13}C_{23}C_{33}]} $$
เมื่อ$C_{13}(A)คือโคแฟกเตอร์แถวที่หนึ่งหลักที่สามของเมตริกซ์A$
$C_{23}(A)คือโคแฟกเตอร์แถวที่สองหลักที่สามของเมตริกซ์A$
และ$C_{33}(A)คือโคแฟกเตอร์แถวที่สามหลักที่สามของเมตริกซ์A$
__________________
ประสบการณ์จะให้ประโยชน์อย่างเงียบๆ เมื่อเราสำนึกถึงข้อมูลในอดีต
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
ตั้งหัวข้อใหม่ Reply


เครื่องมือของหัวข้อ ค้นหาในหัวข้อนี้
ค้นหาในหัวข้อนี้:

ค้นหาขั้นสูง

กฎการส่งข้อความ
คุณ ไม่สามารถ ตั้งหัวข้อใหม่ได้
คุณ ไม่สามารถ ตอบหัวข้อได้
คุณ ไม่สามารถ แนบไฟล์และเอกสารได้
คุณ ไม่สามารถ แก้ไขข้อความของคุณเองได้

vB code is On
Smilies are On
[IMG] code is On
HTML code is Off
ทางลัดสู่ห้อง


เวลาที่แสดงทั้งหมด เป็นเวลาที่ประเทศไทย (GMT +7) ขณะนี้เป็นเวลา 06:07


Powered by vBulletin® Copyright ©2000 - 2024, Jelsoft Enterprises Ltd.
Modified by Jetsada Karnpracha