Mathcenter Forum  

Go Back   Mathcenter Forum > คณิตศาสตร์มัธยมศึกษา > ปัญหาคณิตศาสตร์ ม.ปลาย
สมัครสมาชิก คู่มือการใช้ รายชื่อสมาชิก ปฏิทิน ข้อความวันนี้

ตั้งหัวข้อใหม่ Reply
 
เครื่องมือของหัวข้อ ค้นหาในหัวข้อนี้
  #1  
Old 06 ธันวาคม 2012, 23:39
drwut drwut ไม่อยู่ในระบบ
หัดเดินลมปราณ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 17 กุมภาพันธ์ 2010
ข้อความ: 32
drwut is on a distinguished road
Default

เป็นข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัยเกียวโต (Kyoto University) อันดับสูสีกับ Todai หรือ Tokyo University มาให้ลองกันดูนะครับ ว่าวัดกึ๋นได้มากน้อยแค่ไหน วันนี้เอามาฝาก 2 ข้อนะครับ

ข้อ 1.
 
กำหนดให้ $$ x^2 + xy +y^2 = 6 โดย \quad x, y \in R$$

จงหาช่วงของค่าของ $$ x^2 y - xy^2 -x^2-2xy-y^2+x+y$$

ข้อ 2.

จงตอบคำถามต่อไปนี้
2.1 กำหนดให้ a เป็นจำนวนจริงบวก จงหาค่า $$\lim_{n \to \infty} (1+a^n)^\frac{1}{n} $$
2.2 จงหาค่าของ $$ \int_{1}^{\sqrt{3}}\ \frac{1}{x^2} \log{\sqrt{1+x^2}} dx $$

ลองคิดกันดูนะครับ เผื่อจะได้หลายๆไอเดีย คณิตศาสตร์ที่สวยงามคือคณิตศาสตร์ที่มีวิธีคิดหลายวิธี
__________________
"So far as the theories of mathematics are about reality, they are not certain; so far as they are certain, they are not about reality"
Albert Einstein

https://www.facebook.com/SingaporeMathRam

07 ธันวาคม 2012 19:18 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ gon
เหตุผล: merge
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #2  
Old 06 ธันวาคม 2012, 23:47
~ArT_Ty~'s Avatar
~ArT_Ty~ ~ArT_Ty~ ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณไร้สภาพ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 03 กรกฎาคม 2010
ข้อความ: 1,081
~ArT_Ty~ is on a distinguished road
Default

โจทย์ถามว่าอะไรครับ??
__________________
...สีชมพูจะไม่จางด้วยเหงื่อ แต่จะจางด้วยนํ้าลาย...
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #3  
Old 09 ธันวาคม 2012, 06:15
จูกัดเหลียง's Avatar
จูกัดเหลียง จูกัดเหลียง ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณไร้สภาพ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 21 กุมภาพันธ์ 2011
ข้อความ: 1,234
จูกัดเหลียง is on a distinguished road
Default

ข้อ 2. ไม่ทราบว่าทำวิธีนี้ได้ป่ะครับ
สมมุติ$a> 1$ จะได้ว่าทุกจำนวนจริง $a,$ $a+\dfrac{1}{a^{n-1}}\ge\sqrt[n]{a^n+1}\ge a$
ดังนั้น $a=\lim_{n \rightarrow \infty} \Big(a+\dfrac{1}{a^{n-1}}\Big)\ge \lim_{n\rightarrow \infty} \sqrt[n]{a^n+1}\ge \lim_{n\rightarrow \infty}a=a$
ดังนั้น $\lim_{n\rightarrow \infty} (a^n+1)^{1/n}=a$ เมื่อ $a>1$
เเละถ้า $a\le 1$ ให้ $a=1/k$ เมื่อ $k\ge 1$จึงได้ทำนองเดียวกันว่า
$\lim_{n\rightarrow \infty} (a^n+1)^{1/n}=\lim_{n\rightarrow \infty} \dfrac{(k^n+1)^{1/n}}{k}=\dfrac{\lim_{n\rightarrow \infty} (k^n+1)^{1/n}}{k}=1$
จึงได้ว่า $$\lim_{n\rightarrow \infty} (a^n+1)^{1/n}= \cases{a & , a>1 \cr 1 & , a\le 1} $$
ปล.ข้อ2.2ผมดูเฉลยไปเเล้ว 555+ เเละติดตามข้อสอบเข้า Kyodai อยู่นะครับ
__________________
Vouloir c'est pouvoir

10 ธันวาคม 2012 07:42 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 11 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ จูกัดเหลียง
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #4  
Old 09 ธันวาคม 2012, 07:37
จูกัดเหลียง's Avatar
จูกัดเหลียง จูกัดเหลียง ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณไร้สภาพ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 21 กุมภาพันธ์ 2011
ข้อความ: 1,234
จูกัดเหลียง is on a distinguished road
Default

2.1ส่วนอันนี้ผมคิดเองไม่รู้ว่าถูกป่าว 555
$$\int \frac{1}{x^2}\log(x^2+1) dx=\frac{1}{x}\log(x^2+1)+2\int \frac{1}{x^2+1}dx-\int \frac{1}{x^2}\log(x^2+1) dx$$
ดังนั้น $$\int\frac{1}{x^2}\log(x^2+1) dx=\frac{1}{2}\Big(\frac{\log(x^2+1)}{x}+2\tan^{-1} x\Big)$$
__________________
Vouloir c'est pouvoir
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #5  
Old 09 ธันวาคม 2012, 09:27
nooonuii nooonuii ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎทั่วไป
 
วันที่สมัครสมาชิก: 25 พฤษภาคม 2001
ข้อความ: 6,408
nooonuii is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ drwut View Post
2.1 กำหนดให้ a เป็นจำนวนจริงบวก จงหาค่า $\displaystyle\lim_{n \to \infty} (1+a^n)^\frac{1}{n} $
ข้อนี้มาจากสูตรนี้

ถ้า $a_1,a_2,...,a_k>0$ แล้ว $\displaystyle \lim_{n\to\infty}\sqrt[n]{a_1^n+a_2^n+\cdots+a_k^n}=\max\{a_1,a_2,...,a_k\}$

__________________
site:mathcenter.net คำค้น
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #6  
Old 11 ธันวาคม 2012, 14:43
drwut drwut ไม่อยู่ในระบบ
หัดเดินลมปราณ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 17 กุมภาพันธ์ 2010
ข้อความ: 32
drwut is on a distinguished road
Default

ข้อ 2.1 ถูกต้องเลยครับ เยี่ยมเลย เอาไว้เดี๋ยวจะลองเสนอวิธีของผมบ้างนะครับ ส่วนข้อ 1 ลองทำดูด้วยนะครับ จะได้มาดูวิธีคิดกัน
__________________
"So far as the theories of mathematics are about reality, they are not certain; so far as they are certain, they are not about reality"
Albert Einstein

https://www.facebook.com/SingaporeMathRam
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #7  
Old 21 ธันวาคม 2012, 23:07
drwut drwut ไม่อยู่ในระบบ
หัดเดินลมปราณ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 17 กุมภาพันธ์ 2010
ข้อความ: 32
drwut is on a distinguished road
Default เฉลยนะครับ

Name:  1.PNG
Views: 815
Size:  70.6 KB

Name:  2_1.PNG
Views: 1321
Size:  63.3 KB

Name:  2_2.PNG
Views: 787
Size:  20.1 KB
__________________
"So far as the theories of mathematics are about reality, they are not certain; so far as they are certain, they are not about reality"
Albert Einstein

https://www.facebook.com/SingaporeMathRam

21 ธันวาคม 2012 23:20 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ drwut
เหตุผล: เพิ่มเติม
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
ตั้งหัวข้อใหม่ Reply



กฎการส่งข้อความ
คุณ ไม่สามารถ ตั้งหัวข้อใหม่ได้
คุณ ไม่สามารถ ตอบหัวข้อได้
คุณ ไม่สามารถ แนบไฟล์และเอกสารได้
คุณ ไม่สามารถ แก้ไขข้อความของคุณเองได้

vB code is On
Smilies are On
[IMG] code is On
HTML code is Off
ทางลัดสู่ห้อง


เวลาที่แสดงทั้งหมด เป็นเวลาที่ประเทศไทย (GMT +7) ขณะนี้เป็นเวลา 17:48


Powered by vBulletin® Copyright ©2000 - 2024, Jelsoft Enterprises Ltd.
Modified by Jetsada Karnpracha