Mathcenter Forum  

Go Back   Mathcenter Forum > คณิตศาสตร์ทั่วไป > ปัญหาคณิตศาสตร์ทั่วไป
สมัครสมาชิก คู่มือการใช้ รายชื่อสมาชิก ปฏิทิน ข้อความวันนี้

ตั้งหัวข้อใหม่ Reply
 
เครื่องมือของหัวข้อ ค้นหาในหัวข้อนี้
  #1  
Old 28 เมษายน 2008, 17:10
Amount of infinite Amount of infinite ไม่อยู่ในระบบ
หัดเดินลมปราณ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 10 พฤศจิกายน 2007
ข้อความ: 34
Amount of infinite is on a distinguished road
Default ช่วยพิสูจน์หน่อยคับ

1.$1(1!)+2(2!)+3(3!)+...+n(n!)=(n+1)!-1$
2.$2x6x10x14x...x(4n-2)=\frac{(2n)!}{n!}$
3.$\binom{n}{k}=\binom{n-2}{k-2}+2\binom{n-2}{k-1}+\binom{n-2}{k}$
4.$\binom{2n}{n}=\frac{1x3x5x...x(2n-1)}{1x3x5x7x...xn}x2^n$
5.$\binom{2}{2}+\binom{4}{2}+\binom{6}{2}+...+\binom{2n}{2}=\frac{n(n+1)(n+2)}{6}$
ข้อ 5 n>2
รบกวนด้วยคับ
__________________
บางครั้ง การที่เราจำทำอะไร เงินไม่ใช่ตัวแปรที่สำคัญ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #2  
Old 28 เมษายน 2008, 18:50
owlpenguin's Avatar
owlpenguin owlpenguin ไม่อยู่ในระบบ
บัณฑิตฟ้า
 
วันที่สมัครสมาชิก: 10 มีนาคม 2008
ข้อความ: 386
owlpenguin is on a distinguished road
Default

1.2.3.4.5.ข้อ 5 นี้ให้ n=3 ก็เป็นเท็จครับ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #3  
Old 28 เมษายน 2008, 22:40
gon's Avatar
gon gon ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎขั้นสูง
 
วันที่สมัครสมาชิก: 29 มีนาคม 2001
ข้อความ: 4,608
gon is on a distinguished road
Smile

ข้อ 1 : $$n(n!) = (n + 1 - 1)n! = (n+1)n! - n! = (n+1)! - n!$$
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #4  
Old 07 พฤษภาคม 2008, 21:40
Aermig's Avatar
Aermig Aermig ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณบริสุทธิ์
 
วันที่สมัครสมาชิก: 21 ตุลาคม 2007
ข้อความ: 101
Aermig is on a distinguished road
Default

1. $1(1!)+2(2!)+3(3!)+\cdots+n(n!)$
$=[2(1!)+3(2!)+4(3!)+\cdots+(n+1)(n!)]-[1!+2!+3!+\cdots+n!]$
$=(n+1)!-1$
__________________
ตะปูที่ตอกบนแผ่นไม้ แม้ถอนออกยังคงทิ้งรอยไว้
คำพูดทิ่มแทงจิตใจคน ใยมิใช่เป็นเฉกเช่นเดียวกัน

07 พฤษภาคม 2008 21:41 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ Aermig
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #5  
Old 25 พฤษภาคม 2008, 12:43
The Got_SME's Avatar
The Got_SME The Got_SME ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณบริสุทธิ์
 
วันที่สมัครสมาชิก: 21 พฤษภาคม 2008
ข้อความ: 128
The Got_SME is on a distinguished road
Default

ขอบคุณที่ช่วยแสดงวิธีทำครับ
__________________
ความพยายาม คือ ความสำเร็จของมนุษย์
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #6  
Old 26 พฤษภาคม 2008, 14:47
JaNuArY JaNuArY ไม่อยู่ในระบบ
สมาชิกใหม่
 
วันที่สมัครสมาชิก: 12 มิถุนายน 2007
ข้อความ: 3
JaNuArY is on a distinguished road
Default

2. ทำตามขั้นตอน math induction จนถึง ว่า P(k+1) เป็นจริง

คือ$ 2 \times 6\times 10\times 14\times ...\times (4(k+1)-2)
= \frac{(2k)!}{k!} \cdot (4k+2)
= \frac{(2k)!}{k!} \cdot \frac{(4k+2)(k+1)}{(k+1)}
= \frac{(2k)!}{(k+1)!} \cdot (4k+2)(k+1)
= \frac{(2k)!}{(k+1)!} \cdot (2k+1)(2k+2)
= \frac{(2k+2)!}{(k+1)!}
= \frac{(2(k+1)!)}{(k+1)!}$

27 พฤษภาคม 2008 00:33 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 3 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ JaNuArY
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #7  
Old 26 พฤษภาคม 2008, 22:59
nooonuii nooonuii ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎทั่วไป
 
วันที่สมัครสมาชิก: 25 พฤษภาคม 2001
ข้อความ: 6,408
nooonuii is on a distinguished road
Default

ข้อ 2 แบบไม่ใช้ induction

$\dfrac{(2n)!}{n!}=\dfrac{(1\times 3\times 5\times\cdots\times (2n-1))(2\times 4\times\cdots\times 2n)}{n!}$

$~~~~~~~=\dfrac{(1\times 3\times 5\times\cdots\times (2n-1))(2^n\cdot n!)}{n!}$

$~~~~~~~=2^n(1\times 3\times 5\times\cdots\times (2n-1))$

$~~~~~~~=2\times 6\times 10\times\cdots\times (4n-2)$
__________________
site:mathcenter.net คำค้น
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
ตั้งหัวข้อใหม่ Reply



กฎการส่งข้อความ
คุณ ไม่สามารถ ตั้งหัวข้อใหม่ได้
คุณ ไม่สามารถ ตอบหัวข้อได้
คุณ ไม่สามารถ แนบไฟล์และเอกสารได้
คุณ ไม่สามารถ แก้ไขข้อความของคุณเองได้

vB code is On
Smilies are On
[IMG] code is On
HTML code is Off
ทางลัดสู่ห้อง


เวลาที่แสดงทั้งหมด เป็นเวลาที่ประเทศไทย (GMT +7) ขณะนี้เป็นเวลา 13:09


Powered by vBulletin® Copyright ©2000 - 2024, Jelsoft Enterprises Ltd.
Modified by Jetsada Karnpracha