Mathcenter Forum  

Go Back   Mathcenter Forum > คณิตศาสตร์มัธยมศึกษา > ปัญหาคณิตศาสตร์ ม.ปลาย
สมัครสมาชิก คู่มือการใช้ รายชื่อสมาชิก ปฏิทิน ข้อความวันนี้

ตั้งหัวข้อใหม่ Reply
 
เครื่องมือของหัวข้อ ค้นหาในหัวข้อนี้
  #1  
Old 30 พฤศจิกายน 2008, 21:49
p.b. p.b. ไม่อยู่ในระบบ
สมาชิกใหม่
 
วันที่สมัครสมาชิก: 24 พฤษภาคม 2008
ข้อความ: 8
p.b. is on a distinguished road
Default โจทย์คณิตม.ปลาย ยาก(2)


ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #2  
Old 01 ธันวาคม 2008, 02:07
gnopy's Avatar
gnopy gnopy ไม่อยู่ในระบบ
บัณฑิตฟ้า
 
วันที่สมัครสมาชิก: 11 มกราคม 2006
ข้อความ: 516
gnopy is on a distinguished road
Default

ตัวเลขตามหลังข้อ หมายถึงตัวเลือกที่เท่าไหร่นะครับ

31) 4
-------------------------------------------------------------------------------------
32) 3

ผมใช้วิธีแคลคูลัสครับจะได้ค่าวิกฤตคือ x=5 แล้วณจุดนี้ ฟังก์ชันไม่ต่อเนื่อง ก็เลยtake limit x=>5เข้าไปได้$\frac{0}{0}$
โดยโลปิตาลก็จะได้limit = $\frac{1}{6}$ แล้วฟังก์ชันนี้เป็นฟังก์ชันลดเมื่อ x มีค่ามากๆ แต่ลดลงไม่น้อยกว่า0
และมากสุดไม่เกิน$\frac{1}{3}$จากข้อมูลนำมาประกอบกันก็จะได้เซตคำตอบของ range คือ
$(0,\frac{1}{6})U(\frac{1}{6},\frac{1}{3}]$
-------------------------------------------------------------------------------------
33) 4
1 ไม่จริงเพราะ $\frac{3\pi}{2}$(0)>sin( $\frac{3\pi}{2}$)
2 ไม่จริงเพราะ $-\sqrt{2}(0) > -\sqrt{2}$
3 ไม่จริงเพราะ $\frac{1}{2}(1) > {\frac{1}{2}}^2$
-------------------------------------------------------------------------------------
34) 1
แนวคิด
$1+3+9+27+...+3^{23}$=$3^{24}-1$ =$(3^{6}-1)(3^6+1)(3^{12}+1)$

$3^{6}-1=728 และ3^{6}+1=730$ คือคำตอบครับ
-------------------------------------------------------------------------------------
35) 3
แนวคิด กระจายไปทีละตัวครับ ไล่ตั้งแต่ 2,3,4....,n เพราะเรารู้ว่า n!=n(n-1)(n-2)...1
$4=2^2,8=2^3,6=2x3,14=2x7$
สุดท้ายได้จะได้ 16x15x14x13.......x2=16!
--------------------------------------------------------------------------------------
36) 3
37) -
--------------------------------------------------------------------------------------
38) 2
ผมใช้ไล่แทนค่าที่เหมาะสมลงไปคือ ให้ x=1,0,-1
จะได้ A=-1,B=0,C=1
A+B+C=0
หรืออีกวิธีคือการกระจายแล้วเทียบสปสครับ
--------------------------------------------------------------------------------------
39)
แนะ $\frac{1}{(n)(n+1)(n+2)(n+3)}=\frac{1}{10}[\frac{1}{n}-\frac{1}{n+1}-\frac{1}{n+2}+\frac{1}{n+3}]$
ลองคิดต่อดูนะครับ


----------------------------------------------------------------------------------------
40) 3



ปล - หมายถึง ยังไม่ได้ทำครับ

01 ธันวาคม 2008 19:59 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 12 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ gnopy
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #3  
Old 01 ธันวาคม 2008, 16:02
gnopy's Avatar
gnopy gnopy ไม่อยู่ในระบบ
บัณฑิตฟ้า
 
วันที่สมัครสมาชิก: 11 มกราคม 2006
ข้อความ: 516
gnopy is on a distinguished road
Default

เด๋วกลับมาตอบกลับหอก่อนค๊าบ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #4  
Old 01 ธันวาคม 2008, 19:17
warutT's Avatar
warutT warutT ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ไว
 
วันที่สมัครสมาชิก: 10 มิถุนายน 2008
ข้อความ: 233
warutT is on a distinguished road
Default

ข้อ 36 ครับ
$\frac{a}{b}(ab) =(a^b)(a^{3b})$
$a^2=a^{4b}$
นั่นคือ $b=\frac{1}{2}$
$ab=a^b$
$\frac{1}{2}a=a^{\frac{1}{2}}$
$\frac{1}{4}a^2=a$
$a^2=4a$
$a^2-4a=0$
$a(a-4)=0$
แต่$a>0$
$\therefore a=4$
__________________
หมั่นฝึกฝนตนเองเป็นประจำ
แม้ตรากตรำก็ต้องยอมสู้ฝึกฝน
แม้เหนื่อยยากเราก็ต้องเฝ้าอดทน
เพื่อเป็นผลงอกงามยามพบชัย

"ความพยายามอยู่ที่ไหนความสำเร็จอยู่ที่นั่น"

Fit for Math!!!

01 ธันวาคม 2008 19:20 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 3 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ warutT
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #5  
Old 01 ธันวาคม 2008, 19:29
gnopy's Avatar
gnopy gnopy ไม่อยู่ในระบบ
บัณฑิตฟ้า
 
วันที่สมัครสมาชิก: 11 มกราคม 2006
ข้อความ: 516
gnopy is on a distinguished road
Default

เหลือไม่กี่ข้อแล้ว ๆ

01 ธันวาคม 2008 19:40 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ gnopy
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #6  
Old 01 ธันวาคม 2008, 21:55
p.b. p.b. ไม่อยู่ในระบบ
สมาชิกใหม่
 
วันที่สมัครสมาชิก: 24 พฤษภาคม 2008
ข้อความ: 8
p.b. is on a distinguished road
Default

ขอบคุณครับ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #7  
Old 01 ธันวาคม 2008, 22:24
หยินหยาง's Avatar
หยินหยาง หยินหยาง ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่จักรวาล
 
วันที่สมัครสมาชิก: 06 มกราคม 2007
ข้อความ: 2,921
หยินหยาง is on a distinguished road
Default

ช่วยตอบข้อ 37. คำตอบคือ ข้อ 4 ครับ(ถ้าเข้าใจโจทย์ไม่ผิด)
ข้อ39. ตอบ ข้อ 3

01 ธันวาคม 2008 22:57 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ หยินหยาง
เหตุผล: เพิ่มคำตอบข้อ39
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #8  
Old 02 ธันวาคม 2008, 00:15
gnopy's Avatar
gnopy gnopy ไม่อยู่ในระบบ
บัณฑิตฟ้า
 
วันที่สมัครสมาชิก: 11 มกราคม 2006
ข้อความ: 516
gnopy is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ หยินหยาง View Post
ช่วยตอบข้อ 37. คำตอบคือ ข้อ 4 ครับ(ถ้าเข้าใจโจทย์ไม่ผิด)
ข้อ39. ตอบ ข้อ 3
อ่อครับ ข้อ37ผมไม่ตอบเพราะกลัวเข้าใจโจทย์ผิดเหมือนกัน

สำหรับข้อ 39 นั้นคุณ หยินหยาง ได้ทำตาม hint ผม หรือว่าทำวิธีอื่นครับ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #9  
Old 02 ธันวาคม 2008, 00:27
หยินหยาง's Avatar
หยินหยาง หยินหยาง ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่จักรวาล
 
วันที่สมัครสมาชิก: 06 มกราคม 2007
ข้อความ: 2,921
หยินหยาง is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ gnopy View Post
อ่อครับ ข้อ37ผมไม่ตอบเพราะกลัวเข้าใจโจทย์ผิดเหมือนกัน

สำหรับข้อ 39 นั้นคุณ หยินหยาง ได้ทำตาม hint ผม หรือว่าทำวิธีอื่นครับ
ก็ใช้หลัก telescoping แต่รู้สึกว่าไม่ตรงกับที่คุณ gnopy แนะครับ ของผม
$\frac{1}{(n)(n+1)(n+2)(n+3)}=\frac{1}{2}[\frac{1}{3}( \frac{1}{n}-\frac{1}{n+3})-(\frac{1}{n+1}-\frac{1}{n+2})]$ หลังจากนั้นก็แทนค่าและสังเกตตัวเลขว่าเป็นเศษส่วนอย่างต่ำหรือยังแค่นั้นเองครับ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #10  
Old 02 ธันวาคม 2008, 18:54
gnopy's Avatar
gnopy gnopy ไม่อยู่ในระบบ
บัณฑิตฟ้า
 
วันที่สมัครสมาชิก: 11 มกราคม 2006
ข้อความ: 516
gnopy is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ หยินหยาง View Post
ก็ใช้หลัก telescoping แต่รู้สึกว่าไม่ตรงกับที่คุณ gnopy แนะครับ ของผม
$\frac{1}{(n)(n+1)(n+2)(n+3)}=\frac{1}{2}[\frac{1}{3}( \frac{1}{n}-\frac{1}{n+3})-(\frac{1}{n+1}-\frac{1}{n+2})]$ หลังจากนั้นก็แทนค่าและสังเกตตัวเลขว่าเป็นเศษส่วนอย่างต่ำหรือยังแค่นั้นเองครับ
อ่อครับ ตอนแรก ผมก็ให้ hint ไว้แบบที่คุณหยินหยางทำแหละครับ
คือจับคู่ nกะ n+3 ,n+1กะ n+2

แต่ของผมเล่นจับอีกคู่นึง ข้อนี้เลยมีวิธีทำสองวิธี คือแยกเศษส่วนย่อยได้2แบบ แล้วค่อย ทำต่อ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #11  
Old 02 ธันวาคม 2008, 21:00
Timestopper_STG's Avatar
Timestopper_STG Timestopper_STG ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณคุ้มครองร่าง
 
วันที่สมัครสมาชิก: 22 มกราคม 2006
ข้อความ: 256
Timestopper_STG is on a distinguished road
Send a message via MSN to Timestopper_STG
Default

$$\because\frac{1}{n(n+1)(n+2)(n+3)}=\frac{1}{3}\left[\frac{1}{n(n+1)(n+2)}-\frac{1}{(n+1)(n+2)(n+3)}\right]$$
$$\therefore\sum_{n=1}^{98}\frac{1}{n(n+1)(n+2)(n+3)}=\frac{1}{3}\left[\frac{1}{6}-\frac{1}{999900}\right]=\frac{166649}{2999700}$$
__________________
$$\int_{0}^{\frac{\pi}{2}}\frac{a\cos x-b\sin x}{a\sin x+b\cos x}dx=\ln\left(\frac{a}{b}\right)$$
BUT
$$\int_{0}^{\frac{\pi}{2}}\frac{a\cos x+b\sin x}{a\sin x+b\cos x}dx=\frac{\pi ab}{a^{2}+b^{2}}+\frac{a^{2}-b^{2}}{a^{2}+b^{2}}\ln\left(\frac{a}{b}\right)$$

02 ธันวาคม 2008 21:05 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 2 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ Timestopper_STG
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #12  
Old 05 ธันวาคม 2008, 07:47
MirRor's Avatar
MirRor MirRor ไม่อยู่ในระบบ
บัณฑิตฟ้า
 
วันที่สมัครสมาชิก: 03 มีนาคม 2008
ข้อความ: 394
MirRor is on a distinguished road
Default

คือข้อ 40 ผมว่า 3.08 น่าจะใกล้เคียงมากกว่านะครับ เพราะในรูท มันได้ 9.5 อ่ะ
ใช่ม่ะ
__________________
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #13  
Old 05 ธันวาคม 2008, 13:44
gnopy's Avatar
gnopy gnopy ไม่อยู่ในระบบ
บัณฑิตฟ้า
 
วันที่สมัครสมาชิก: 11 มกราคม 2006
ข้อความ: 516
gnopy is on a distinguished road
Default

มันได้ $\frac{12}{4}$ = 3 (แก้ไขละ)ไม่ใช่รึ ส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ยไม่ได้ถอดรูทหนิดูสูตรได้ที่นี่
http://pibul2.psru.ac.th/~buncha/Chp1_6.htm

ผมได้ข้อมูลคือ 45,45,50,52 หนะ

05 ธันวาคม 2008 17:11 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ gnopy
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #14  
Old 05 ธันวาคม 2008, 14:40
หยินหยาง's Avatar
หยินหยาง หยินหยาง ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่จักรวาล
 
วันที่สมัครสมาชิก: 06 มกราคม 2007
ข้อความ: 2,921
หยินหยาง is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ gnopy View Post
มันได้ $\frac{9}{3}$ = 3 ไม่ใช่รึ ส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ยไม่ได้ถอดรูทหนิดูสูตรได้ที่นี่
http://pibul2.psru.ac.th/~buncha/Chp1_6.htm

ผมได้ข้อมูลคือ 45,45,50,52 หนะ
ผมว่า $\frac{12}{4} =3$ นะครับมาจาก
$\frac{\left|\,\right. 45-47.5\left.\,\right| +\left|\,\right. 45-47.5\left.\,\right| +
\left|\,\right. 50-47.5\left.\,\right| +\left|\,\right. 52-47.5\left.\,\right|}{4} $
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #15  
Old 05 ธันวาคม 2008, 17:09
gnopy's Avatar
gnopy gnopy ไม่อยู่ในระบบ
บัณฑิตฟ้า
 
วันที่สมัครสมาชิก: 11 มกราคม 2006
ข้อความ: 516
gnopy is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ หยินหยาง View Post
ผมว่า $\frac{12}{4} =3$ นะครับมาจาก
$\frac{\left|\,\right. 45-47.5\left.\,\right| +\left|\,\right. 45-47.5\left.\,\right| +
\left|\,\right. 50-47.5\left.\,\right| +\left|\,\right. 52-47.5\left.\,\right|}{4} $
อ่อใช่แล้วครับ สงสัยตอนผมพิมพ์จะดูที่ทดผิด เอ๊ะว่าแต่ ค่าเฉลี่ยทำไมได้47.5 อะครับ ไม่ใช่ 48 หรอ
สงสัยเอาค่ามัธยฐานมาหรือปล่าว

05 ธันวาคม 2008 17:11 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ gnopy
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
ตั้งหัวข้อใหม่ Reply



กฎการส่งข้อความ
คุณ ไม่สามารถ ตั้งหัวข้อใหม่ได้
คุณ ไม่สามารถ ตอบหัวข้อได้
คุณ ไม่สามารถ แนบไฟล์และเอกสารได้
คุณ ไม่สามารถ แก้ไขข้อความของคุณเองได้

vB code is On
Smilies are On
[IMG] code is On
HTML code is Off
ทางลัดสู่ห้อง


เวลาที่แสดงทั้งหมด เป็นเวลาที่ประเทศไทย (GMT +7) ขณะนี้เป็นเวลา 23:32


Powered by vBulletin® Copyright ©2000 - 2024, Jelsoft Enterprises Ltd.
Modified by Jetsada Karnpracha