Mathcenter Forum  

Go Back   Mathcenter Forum > คณิตศาสตร์ทั่วไป > ปัญหาคณิตศาสตร์ทั่วไป
สมัครสมาชิก คู่มือการใช้ รายชื่อสมาชิก ปฏิทิน ข้อความวันนี้

ตั้งหัวข้อใหม่ Reply
 
เครื่องมือของหัวข้อ ค้นหาในหัวข้อนี้
  #31  
Old 10 มกราคม 2005, 00:50
gon's Avatar
gon gon ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎขั้นสูง
 
วันที่สมัครสมาชิก: 29 มีนาคม 2001
ข้อความ: 4,608
gon is on a distinguished road
Post

ข้อ 31 :
\( \displaystyle\max_{1\leq k\leq2001}f(k) = 4, min \, n = 2^{\displaystyle2^{2000} + 1} + 1\)
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #32  
Old 10 มกราคม 2005, 01:58
aaaa's Avatar
aaaa aaaa ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณบริสุทธิ์
 
วันที่สมัครสมาชิก: 01 มกราคม 2005
ข้อความ: 109
aaaa is on a distinguished road
Post

ย้ายครับ ไปหัวข้อใหม่

10 มกราคม 2005 02:05 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 2 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ aaaa
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #33  
Old 10 มกราคม 2005, 02:23
nooonuii nooonuii ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎทั่วไป
 
วันที่สมัครสมาชิก: 25 พฤษภาคม 2001
ข้อความ: 6,408
nooonuii is on a distinguished road
Post

อืมแสดงว่าผมคิดถูกแล้วครับ ขอบคุณคุณ aaaa เป็นอย่างสูงที่แนะนำแนวคิดครับ
__________________
site:mathcenter.net คำค้น
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #34  
Old 10 มกราคม 2005, 02:54
warut warut ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ไร้สภาพ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 24 พฤศจิกายน 2001
ข้อความ: 1,627
warut is on a distinguished road
Smile

อ้างอิง:
ข้อความเดิมของคุณ aaaa:
อยากเห็นวิธีคิดข้อ 28 ครับ คุณ warut
เอาแบบคร่าวๆนะครับ

โดยให้ \(y=1-x\) จะได้\[\int_0^1\frac{\ln y}{1-y}\,dy=
\int_0^1\frac{\ln(1-x)}{x}\,dx\]
\[=-\int_0^1\left(1+\frac{x}{2}+\frac{x^2}{3}+\frac{x^3}{4}+\cdots\right)dx\]
\[=-\left[x+\frac{x^2}{2^2}+\frac{x^3}{3^2}+\frac{x^4}{4^2}+\cdots\right]_0^1\]
\[=-\frac{\pi^2}{6}\]แล้วคุณ aaaa ทำยังไงครับ

18 ธันวาคม 2005 05:00 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ warut
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #35  
Old 10 มกราคม 2005, 03:05
aaaa's Avatar
aaaa aaaa ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณบริสุทธิ์
 
วันที่สมัครสมาชิก: 01 มกราคม 2005
ข้อความ: 109
aaaa is on a distinguished road
Post

ครับผมทำแบบเดียวกันนี้แหละ ยังนึกวิธีแบบไม่ต้องกระจายอนุกรมไม่ได้
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #36  
Old 10 มกราคม 2005, 03:11
nooonuii nooonuii ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎทั่วไป
 
วันที่สมัครสมาชิก: 25 พฤษภาคม 2001
ข้อความ: 6,408
nooonuii is on a distinguished road
Post

33. จงหาค่าของ

\[ \large{\frac{3}{1!+2!+3!} + \frac{4}{2!+3!+4!} + \frac{5}{3!+4!+5!} + \dots} \]
__________________
site:mathcenter.net คำค้น

10 มกราคม 2005 03:12 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ nooonuii
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #37  
Old 10 มกราคม 2005, 03:57
nooonuii nooonuii ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎทั่วไป
 
วันที่สมัครสมาชิก: 25 พฤษภาคม 2001
ข้อความ: 6,408
nooonuii is on a distinguished road
Post

34. จงหาค่าของ
\[ \large{1- \frac{1}{2} + \frac{1}{4} - \frac{1}{5} + \frac{1}{7} - \frac{1}{8} + \frac{1}{10} - \frac{1}{11} + \cdots } \]
__________________
site:mathcenter.net คำค้น

10 มกราคม 2005 03:58 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ nooonuii
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #38  
Old 10 มกราคม 2005, 04:15
nooonuii nooonuii ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎทั่วไป
 
วันที่สมัครสมาชิก: 25 พฤษภาคม 2001
ข้อความ: 6,408
nooonuii is on a distinguished road
Post

35. จงแสดงว่า \[ \large{1+\frac{1}{2} + \cdots + \frac{1}{n} = \sum_{i=1}^{n} \frac{(-1)^{i+1}}{i} {n \choose i}} \]
__________________
site:mathcenter.net คำค้น

10 มกราคม 2005 04:20 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 2 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ nooonuii
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #39  
Old 10 มกราคม 2005, 09:04
warut warut ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ไร้สภาพ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 24 พฤศจิกายน 2001
ข้อความ: 1,627
warut is on a distinguished road
Smile

ข้อ 33. ตอบ 1/2

ข้อ 34. ตอบ p/(33)

10 มกราคม 2005 09:09 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ warut
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #40  
Old 10 มกราคม 2005, 09:44
nooonuii nooonuii ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎทั่วไป
 
วันที่สมัครสมาชิก: 25 พฤษภาคม 2001
ข้อความ: 6,408
nooonuii is on a distinguished road
Post

เยี่ยมไปเลยครับคุณ warut ตอนนี้ยังเหลือข้อ 25,29,30,35 ครับ
__________________
site:mathcenter.net คำค้น
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #41  
Old 10 มกราคม 2005, 12:25
warut warut ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ไร้สภาพ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 24 พฤศจิกายน 2001
ข้อความ: 1,627
warut is on a distinguished road
Smile

ตอนนี้ผมถูกความขี้เกียจเข้าครอบงำอย่างหนัก เลยไม่ค่อยอยากทำข้อที่
ต้องพิมพ์เยอะๆน่ะครับ

ตอบข้อ 35. จาก binomial theorem จะได้
\[\frac{1-\left(1-x\right)^n}{x}=\sum_{i=1}^n\left(-1\right)^{i-1}{n\choose i}x^{i-1}\]
ดังนั้น
\[\sum_{i=1}^n\frac{\left(-1\right)^{i-1}}{i}{n\choose i}=\int_0^1\sum_{i=1}^n\left(-1\right)^{i-1}{n\choose i}x^{i-1}\,dx\]
\[=\int_0^1\frac{1-\left(1-x\right)^n}{x}\,dx\]
ให้ u = 1 - x จะได้
\[\sum_{i=1}^n\frac{\left(-1\right)^{i-1}}{i}{n\choose i}=\int_0^1\frac{1-u^n}{1-u}\,du\]
\[=\int_0^11+u+u^2+\dots+u^{n-1}\,du\]
\[=1+\frac{1}{2}+\dots+\frac{1}{n}\]
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #42  
Old 10 มกราคม 2005, 12:57
warut warut ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ไร้สภาพ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 24 พฤศจิกายน 2001
ข้อความ: 1,627
warut is on a distinguished road
Smile

อ้างอิง:
ข้อความเดิมของคุณ aaaa:
30. (Spanish MO'2003) ถ้า \( \alpha \) เป็นรากที่เป็นจำนวนจริงของ \( x^3+2x^2+10x-20=0 \)
จงพิสูจน์ว่า \( \alpha^2 \) ต้องเป็นจำนวนอตรรกยะ
จาก $ \alpha^3+2 \alpha^2 +10 \alpha-20=0$ เราจึงได้ว่า $$\alpha= \frac{20-2\alpha^2} {\alpha^2+10} $$ ดังนั้นถ้า $\alpha^2$ เป็นจำนวนตรรกยะ $\alpha$ ก็จะเป็นจำนวนตรรกยะด้วย แต่จาก Rational Root Test เรารู้ว่า $\alpha$ เป็นจำนวนอตรรกยะ ดังนั้น $\alpha^2$ จึงต้องเป็นจำนวนอตรรกยะครับผม

20 เมษายน 2006 09:53 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 3 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ warut
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #43  
Old 10 มกราคม 2005, 14:01
warut warut ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ไร้สภาพ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 24 พฤศจิกายน 2001
ข้อความ: 1,627
warut is on a distinguished road
Smile

อ้างอิง:
ข้อความเดิมของคุณ nooonuii:
ขอย้อนกลับไปสู่โจทย์ที่น้องๆระดับมัธยมสามารถทำได้ด้วยครับ

29. จงหาจำนวนจริง k ทั้งหมดซึ่งทำให้สมการพหุนาม (x+1)(x+2)(x+3)(x+4) = k มีรากเป็นจำนวนจริงทั้งหมด
ทำต่อจากแนวคิดของคุณ R-Tummykung de Lamar
\[\left(x+1\right)\left(x+2\right)\left(x+3\right)\left(x+4\right)=\left(x^2+5x+5\right)^2-1=k\]
ดังนั้น
\[x^2+5x+5\pm\sqrt{k+1}=0\]
ซึ่งจะมีรากเป็นจำนวนจริงก็ต่อเมื่อ k -1 และ
\[5^2-4\left(5\pm\sqrt{k+1}\right)\ge0\]
นั่นคือ
\[5-4\sqrt{k+1}\ge0\]
ดังนั้น
\[-1\le k\le\left(\frac{5}{4}\right)^2-1=\frac{9}{16}\]
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #44  
Old 10 มกราคม 2005, 21:37
nooonuii nooonuii ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎทั่วไป
 
วันที่สมัครสมาชิก: 25 พฤษภาคม 2001
ข้อความ: 6,408
nooonuii is on a distinguished road
Post

เยี่ยมครับ คุณ warut เหลือข้อ 25 ข้อเดียวแล้วครับ
__________________
site:mathcenter.net คำค้น
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #45  
Old 13 มกราคม 2005, 05:58
nooonuii nooonuii ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎทั่วไป
 
วันที่สมัครสมาชิก: 25 พฤษภาคม 2001
ข้อความ: 6,408
nooonuii is on a distinguished road
Post

ข้อนี้ไปเจอในวารสารมาครับ

36. ถ้า (m,n) = 1 จงพิสูจน์ว่า \( (m^3 n^2 + m^2 n^3 + m^3 n + 2m^2 n^2 + mn^3, m^2 n + mn^2 + mn + m + n) = 1 \)
__________________
site:mathcenter.net คำค้น

13 มกราคม 2005 06:22 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ nooonuii
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
ตั้งหัวข้อใหม่ Reply


หัวข้อคล้ายคลึงกัน
หัวข้อ ผู้ตั้งหัวข้อ ห้อง คำตอบ ข้อความล่าสุด
ข้อสอบสมาคม ม.ปลายปี 2548 prachya ข้อสอบในโรงเรียน ม.ปลาย 32 30 ตุลาคม 2010 12:58
ขอถามสสวท.2548หน่อยไม่มั่นใจ Wind ข้อสอบในโรงเรียน ประถมปลาย 3 27 สิงหาคม 2007 20:37
สมาคมคณิตศาสตร์ 2548 (ม.ต้น) R-Tummykung de Lamar ข้อสอบในโรงเรียน ม.ต้น 14 06 สิงหาคม 2006 11:03
โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ สวัสดีปีใหม่ 2548 ครับ nooonuii ปัญหาคณิตศาสตร์ทั่วไป 71 08 มกราคม 2005 23:16
สสวท .เริ่มรับสมัครสอบ แข่งโอลิมปิกปี 2548 gon ข่าวคราวแวดวง ม.ปลาย 3 29 พฤษภาคม 2004 20:40


กฎการส่งข้อความ
คุณ ไม่สามารถ ตั้งหัวข้อใหม่ได้
คุณ ไม่สามารถ ตอบหัวข้อได้
คุณ ไม่สามารถ แนบไฟล์และเอกสารได้
คุณ ไม่สามารถ แก้ไขข้อความของคุณเองได้

vB code is On
Smilies are On
[IMG] code is On
HTML code is Off
ทางลัดสู่ห้อง


เวลาที่แสดงทั้งหมด เป็นเวลาที่ประเทศไทย (GMT +7) ขณะนี้เป็นเวลา 15:01


Powered by vBulletin® Copyright ©2000 - 2024, Jelsoft Enterprises Ltd.
Modified by Jetsada Karnpracha