Mathcenter Forum  

Go Back   Mathcenter Forum > คณิตศาสตร์มัธยมศึกษา > ปัญหาคณิตศาสตร์ ม.ปลาย
สมัครสมาชิก คู่มือการใช้ รายชื่อสมาชิก ปฏิทิน ข้อความวันนี้

ตั้งหัวข้อใหม่ Reply
 
เครื่องมือของหัวข้อ ค้นหาในหัวข้อนี้
  #1  
Old 12 กุมภาพันธ์ 2009, 17:52
RoSe-JoKer's Avatar
RoSe-JoKer RoSe-JoKer ไม่อยู่ในระบบ
บัณฑิตฟ้า
 
วันที่สมัครสมาชิก: 25 พฤศจิกายน 2007
ข้อความ: 390
RoSe-JoKer is on a distinguished road
Default Nice from TU's test

ผิดลิขสิทธิ์หรือเปล่าก็ไม่รู้ แต่ผมไม่ชอบที่หวงโจทย์เท่าไหร่ เอามาโพสในเน็ตคงไม่มีใครว่าอะไรมั้ง?
เป็นข้อสอบที่ให้แสดงวิธีทำโดยสั่งว่าห้ามใช้ Partial fraction โจทย์คือ
จงหาค่าของ
$\int_{2}^{3} \frac{x^4-x^2-6x+2}{x^4-2x^2+1}dx$
__________________
Rose_joker @Thailand
Serendipity
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #2  
Old 12 กุมภาพันธ์ 2009, 23:13
V.Rattanapon V.Rattanapon ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณบริสุทธิ์
 
วันที่สมัครสมาชิก: 25 ตุลาคม 2007
ข้อความ: 120
V.Rattanapon is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ RoSe-JoKer View Post
ผิดลิขสิทธิ์หรือเปล่าก็ไม่รู้ แต่ผมไม่ชอบที่หวงโจทย์เท่าไหร่ เอามาโพสในเน็ตคงไม่มีใครว่าอะไรมั้ง?
เป็นข้อสอบที่ให้แสดงวิธีทำโดยสั่งว่าห้ามใช้ Partial fraction โจทย์คือ
จงหาค่าของ
$\int_{2}^{3} \frac{x^4-x^2-6x+2}{x^4-2x^2+1}dx$
ถ้าไม่ให้ใช้ Partial fraction ตอนนี้ผมคิดได้วิธีเดียวคือ
\[
\frac{{x^4 - x^2 - 6x + 2}}{{x^4 - 2x^2 + 1}} = \frac{{\left( {x^4 - 2x^2 + 1} \right) + \left( {x^2 - 6x + 1} \right)}}{{x^4 - 2x^2 + 1}} = 1 + \frac{{x^2 - 6x + 1}}{{x^4 - 2x^2 + 1}} = 1 + \frac{{x^2 - 6x + 1}}{{\left( {x^2 - 1} \right)^2 }}
\]
\[
= 1 + \frac{{\left( {x^2 - 1} \right) - \left( {6x - 2} \right)}}{{\left( {x^2 - 1} \right)^2 }} = 1 + \frac{1}{{x^2 - 1}} - \frac{{6x}}{{\left( {x^2 - 1} \right)^2 }} + \frac{2}{{\left( {x^2 - 1} \right)^2 }}
\]

คำตอบคือ \[
\frac{2}{3}
\]
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #3  
Old 13 กุมภาพันธ์ 2009, 00:00
Puriwatt's Avatar
Puriwatt Puriwatt ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณไร้สภาพ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 14 กันยายน 2006
ข้อความ: 1,435
Puriwatt is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ V.Rattanapon View Post
ถ้าไม่ให้ใช้ Partial fraction ตอนนี้ผมคิดได้วิธีเดียวคือ
\[
\frac{{x^4 - x^2 - 6x + 2}}{{x^4 - 2x^2 + 1}} = 1 + \frac{1}{{x^2 - 1}} - \frac{{6x}}{{\left( {x^2 - 1} \right)^2 }} + \frac{2}{{\left( {x^2 - 1} \right)^2 }}
\]
ลองคลิกที่ลิงค์ของ partial fraction ดูซิครับ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #4  
Old 13 กุมภาพันธ์ 2009, 00:28
gnopy's Avatar
gnopy gnopy ไม่อยู่ในระบบ
บัณฑิตฟ้า
 
วันที่สมัครสมาชิก: 11 มกราคม 2006
ข้อความ: 516
gnopy is on a distinguished road
Default

เขาห้ามใช้หนิครับ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #5  
Old 23 มีนาคม 2009, 16:25
V.Rattanapon V.Rattanapon ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณบริสุทธิ์
 
วันที่สมัครสมาชิก: 25 ตุลาคม 2007
ข้อความ: 120
V.Rattanapon is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ RoSe-JoKer View Post
ผิดลิขสิทธิ์หรือเปล่าก็ไม่รู้ แต่ผมไม่ชอบที่หวงโจทย์เท่าไหร่ เอามาโพสในเน็ตคงไม่มีใครว่าอะไรมั้ง?
เป็นข้อสอบที่ให้แสดงวิธีทำโดยสั่งว่าห้ามใช้ Partial fraction โจทย์คือ
จงหาค่าของ
$\int_{2}^{3} \frac{x^4-x^2-6x+2}{x^4-2x^2+1}dx$
ขออภัยครับ สงสัยตอนนั้นท่าจะเมาแฮะ
ขอแก้ตัวหน่อยละกัน
พิจารณา\[
I = \int {\frac{{x^4 - x^2 - 6x + 2}}{{x^4 - 2x^2 + 1}}dx} = \int {\frac{{x^2 \left( {x^2 - 1} \right) - 6x + 2}}{{\left( {x^2 - 1} \right)^2 }}dx}
\]
ให้ \[
x = \sec \theta
\]
จะได้ว่า \[
\int {\frac{{x^4 - x^2 - 6x + 2}}{{x^4 - 2x^2 + 1}}dx} = \int {\left( {\frac{{\sec ^2 \theta \left( {\sec ^2 \theta - 1} \right) - 6\sec \theta + 2}}{{\left( {\sec ^2 \theta - 1} \right)^2 }}} \right)\left( {\sec \theta \tan \theta } \right)} d\theta
\]
\[
= \int {\left( {\frac{{\sec ^2 \theta \tan ^2 \theta - 6\sec \theta + 2}}{{\tan ^4 \theta }}} \right)\left( {\sec \theta \tan \theta } \right)} d\theta
\]
\[
= \int {\left( {\frac{{\sec ^3 \theta \tan ^2 \theta - 6\sec ^2 \theta + 2\sec \theta }}{{\tan ^3 \theta }}} \right)} d\theta
\]
\[
= \int {\left( {\frac{{\frac{{\sin ^2 \theta }}{{\cos ^5 \theta }} - \frac{6}{{\cos ^2 \theta }} + \frac{2}{{\cos \theta }}}}{{\frac{{\sin ^3 \theta }}{{\cos ^3 \theta }}}}} \right)} d\theta
\]
\[
= \int {\left( {\frac{1}{{\sin \theta \cos ^2 \theta }} - \frac{{6\cos \theta }}{{\sin ^3 \theta }} + \frac{{2\cos ^2 \theta }}{{\sin ^3 \theta }}} \right)} d\theta
\]
\[
= \int {\cos ec} \theta \sec ^2 \theta d\theta - 6\int {\frac{{\cos \theta }}{{\sin ^3 \theta }}} d\theta + 2\int {\cot ^2 \theta \cos ec} \theta d\theta
\]
\[
= \int {\cos ec} \theta \sec ^2 \theta d\theta - 6\int {\frac{{\cos \theta }}{{\sin ^3 \theta }}} d\theta + 2\int {\cos ec} ^3 \theta d\theta - 2\int {\cos ec} \theta d\theta
\]
\[
= I_1 - 6I_2 + 2I_3 - 2\ln \left| {\cos ec\theta - \cot \theta } \right|
\]
\[
I_1 = \int {\cos ec} \theta \sec ^2 \theta d\theta = \int {\cos ec\theta \left( {1 + \tan ^2 \theta } \right)d\theta = \int {\cos ec\theta d\theta + \int {\cos ec\theta \tan ^2 \theta d\theta = } } } \int {\cos ec\theta d\theta + \int {\frac{{\sin \theta }}{{\cos ^2 \theta }}d\theta } }
\]
\[
= \int {\cos ec} \theta d\theta + \int {\sec \theta \tan \theta d\theta = } \ln \left| {\cos ec\theta - \cot \theta } \right| + \sec \theta + c_1
\]
\[
I_2 = \int {\frac{{\cos \theta }}{{\sin ^3 \theta }}} d\theta = \int {\cot } \theta \cos ec^2 \theta d\theta = - \int {\cot \theta d\left( {\cot \theta } \right)} = - \frac{{\cot ^2 \theta }}{2} + c_2
\]
\[
I_3 = \int {\cos ec} ^3 \theta d\theta = - \cos ec\theta \cot \theta - \int {\cos ec\theta \cot ^2 \theta d\theta = } - \cos ec\theta \cot \theta - I_3 + \int {\cos ec} \theta d\theta
\]
\[
= \frac{1}{2}\ln \left| {\cos ec\theta - \cot \theta } \right| - \frac{1}{2}\cos ec\theta \cot \theta + c_3
\]
จะได้ \[
I = \ln \left| {\cos ec\theta - \cot \theta } \right| + \sec \theta - 6\left( { - \frac{{\cot ^2 \theta }}{2}} \right) + 2\left( {\frac{1}{2}\ln \left| {\cos ec\theta - \cot \theta } \right| - \frac{1}{2}\cos ec\theta \cot \theta } \right) - 2\ln \left| {\cos ec\theta - \cot \theta } \right| + c
\]
\[
= \sec + 3\cot ^2 \theta - \cos ec\theta \cot \theta + c
\]\[
= x - \frac{{x - 3}}{{x^2 - 1}} + c
\]
ดังนั้น \[
\int\limits_2^3 {\frac{{x^4 - x^2 - 6x + 2}}{{x^4 - 2x^2 + 1}}dx} = \left[ {x - \frac{{x - 3}}{{x^2 - 1}}} \right]_2^3 = \frac{2}{3}
\]
ปล. คงไม่มีส่วนไหนเผลอใช้ Partial fraction นะครับ ว่าแต่ข้อนี้มันกี่คะแนนนี่ ?
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #6  
Old 25 มีนาคม 2009, 09:44
RoSe-JoKer's Avatar
RoSe-JoKer RoSe-JoKer ไม่อยู่ในระบบ
บัณฑิตฟ้า
 
วันที่สมัครสมาชิก: 25 พฤศจิกายน 2007
ข้อความ: 390
RoSe-JoKer is on a distinguished road
Default

โอ้...ช่างเป็นวิธีที่ให้กลิ่นคำว่ามหาลัยอะไรหนาจมูกเช่นนี้... ข้อนี้ 2 คะแนนไม่หารอะครับ...
ตอนผมทำผมให้ $F(x)=\frac{f(x)}{x^2-1}+c$ แล้วก็ทำการหาอนุพันธ์ไปโดยให้ $f(x)$ อยู่ในรูป $ax^3+bx^2+cx+d$ อะครับเพราะว่าเวลาหาอนุพันธ์มันจะได้เป็นกำลัง 4 แล้วก็ใช้ความจริงที่ว่า $b+d=3$ จากการเทียบหลังจากได้หาอนุพันธ์ไปแล้วเพื่อหาค่าของที่โจทย์กำหนดอะครับ
__________________
Rose_joker @Thailand
Serendipity
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
ตั้งหัวข้อใหม่ Reply


หัวข้อคล้ายคลึงกัน
หัวข้อ ผู้ตั้งหัวข้อ ห้อง คำตอบ ข้อความล่าสุด
เก็บตก จาก pre-test คณิตฯ คusักคณิm ข้อสอบในโรงเรียน ประถมปลาย 12 29 พฤศจิกายน 2008 21:55
เอาข้อสอบtop testมาฝาก คusักคณิm ข้อสอบในโรงเรียน ประถมต้น 13 14 กรกฎาคม 2008 21:17


กฎการส่งข้อความ
คุณ ไม่สามารถ ตั้งหัวข้อใหม่ได้
คุณ ไม่สามารถ ตอบหัวข้อได้
คุณ ไม่สามารถ แนบไฟล์และเอกสารได้
คุณ ไม่สามารถ แก้ไขข้อความของคุณเองได้

vB code is On
Smilies are On
[IMG] code is On
HTML code is Off
ทางลัดสู่ห้อง


เวลาที่แสดงทั้งหมด เป็นเวลาที่ประเทศไทย (GMT +7) ขณะนี้เป็นเวลา 01:36


Powered by vBulletin® Copyright ©2000 - 2024, Jelsoft Enterprises Ltd.
Modified by Jetsada Karnpracha