Mathcenter Forum  

Go Back   Mathcenter Forum > คณิตศาสตร์โอลิมปิก และอุดมศึกษา > ทฤษฎีจำนวน
สมัครสมาชิก คู่มือการใช้ รายชื่อสมาชิก ปฏิทิน ข้อความวันนี้

ตั้งหัวข้อใหม่ Reply
 
เครื่องมือของหัวข้อ ค้นหาในหัวข้อนี้
  #1  
Old 14 กันยายน 2011, 18:19
infinity55 infinity55 ไม่อยู่ในระบบ
สมาชิกใหม่
 
วันที่สมัครสมาชิก: 14 กันยายน 2011
ข้อความ: 5
infinity55 is on a distinguished road
Default จำนวนเฉพาะสัมพัทธ์ ช่วยทำหน่อยค่ะ

กำหนดลำดับ a1=2,a2=3,a3=7,a4=43,a5=1807 พจน์ทั่วไปคือ an+1 = an2+an+1 จงแสดงว่า { a1, a2, a3,?}

เป็นเซตที่ ai,aj เป็นจำนวนเฉพาะสัมพัทธ์กันทุก i≠j
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #2  
Old 14 กันยายน 2011, 18:48
PP_nine's Avatar
PP_nine PP_nine ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ประสานใจ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 24 เมษายน 2010
ข้อความ: 607
PP_nine is on a distinguished road
Default

โจทย์น่าจะเป็นแบบนี้หรือเปล่าครับ?

อ้างอิง:
กำหนดลำดับ $a_1=2,a_2=3,a_3=7,a_4=43,a_5=1807$ พจน์ทั่วไปคือ $a_{n+1} = (a_n \cdot a_{n-1} \cdot ... \cdot a_1)+1$ จงแสดงว่า $\left\{\,a_1, a_2, a_3,?\right\} $

เป็นเซตที่ $a_i,a_j$ เป็นจำนวนเฉพาะสัมพัทธ์กันทุก $i\not= j$
__________________
keep your way.
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #3  
Old 14 กันยายน 2011, 18:57
infinity55 infinity55 ไม่อยู่ในระบบ
สมาชิกใหม่
 
วันที่สมัครสมาชิก: 14 กันยายน 2011
ข้อความ: 5
infinity55 is on a distinguished road
Default

ใช่ค่ะ
โจทย์แบบนี้เลยค่ะ ช่วยทำหน่อยนะคะ ^_^
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #4  
Old 14 กันยายน 2011, 19:09
PP_nine's Avatar
PP_nine PP_nine ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ประสานใจ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 24 เมษายน 2010
ข้อความ: 607
PP_nine is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
กำหนดลำดับ $a_1=2,a_2=3,a_3=7,a_4=43,a_5=1807$ พจน์ทั่วไปคือ $a_{n+1} = (a_n \cdot a_{n-1} \cdot ... \cdot a_1)+1$ จงแสดงว่า $\left\{\,a_1, a_2, a_3,?\right\} $

เป็นเซตที่ $a_i,a_j$ เป็นจำนวนเฉพาะสัมพัทธ์กันทุก $i\not= j$
ก็สมมติให้ $i<j$ ได้ว่า $a_j=(a_{j-1}a_{j-2}...a_i...a_1)+1$ เพราะ $i<j$ แสดงว่า $a_i$ ต้องโผล่ใน $a_j$ ดังสมการข้างนี้แน่นอน

จากนั้นสมมติให้ $a_i,a_j$ ไม่เป็นจำนวนเฉพาะสัมพัทธ์ แสดงว่ามีจำนวนนับ $r>1$ ซึ่ง $r|a_i$ และ $r|a_j$

$r|a_j \Rightarrow r|(a_{j-1}a_{j-2}...a_i...a_1)+1$ แต่ $r|a_i$ จึงเหลือ $r|1$ ซึ่งเป็นไปไม่ได้

นั่นคือ $a_i,a_j$ เป็นจำนวนเฉพาะสัมพัทธ์กันทุกคู่
__________________
keep your way.
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #5  
Old 17 กันยายน 2011, 16:28
infinity55 infinity55 ไม่อยู่ในระบบ
สมาชิกใหม่
 
วันที่สมัครสมาชิก: 14 กันยายน 2011
ข้อความ: 5
infinity55 is on a distinguished road
Default

โจทย์เป็นแบบข้างบนค่ะ คือออกำหนดลำดับ a1=2,a2=3,a3=7,a4=43,a5=1807 พจน์ทั่วไปคือ an+1 = a(ห้อยn) ยกกำลัง 2+ a(ห้อยn) + 1 จงแสดงว่า { a1, a2, a3,…}
เป็นเซตที่ ai,aj เป็นจำนวนเฉพาะสัมพัทธ์กันทุก i≠j
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
ตั้งหัวข้อใหม่ Reply



กฎการส่งข้อความ
คุณ ไม่สามารถ ตั้งหัวข้อใหม่ได้
คุณ ไม่สามารถ ตอบหัวข้อได้
คุณ ไม่สามารถ แนบไฟล์และเอกสารได้
คุณ ไม่สามารถ แก้ไขข้อความของคุณเองได้

vB code is On
Smilies are On
[IMG] code is On
HTML code is Off
ทางลัดสู่ห้อง


เวลาที่แสดงทั้งหมด เป็นเวลาที่ประเทศไทย (GMT +7) ขณะนี้เป็นเวลา 04:02


Powered by vBulletin® Copyright ©2000 - 2024, Jelsoft Enterprises Ltd.
Modified by Jetsada Karnpracha