Mathcenter Forum  

Go Back   Mathcenter Forum > คณิตศาสตร์มัธยมศึกษา > ปัญหาคณิตศาสตร์ ม. ต้น
สมัครสมาชิก คู่มือการใช้ รายชื่อสมาชิก ปฏิทิน ข้อความวันนี้

ตั้งหัวข้อใหม่ Reply
 
เครื่องมือของหัวข้อ ค้นหาในหัวข้อนี้
  #1  
Old 05 มีนาคม 2011, 22:12
คนอยากเก่ง's Avatar
คนอยากเก่ง คนอยากเก่ง ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ประสานใจ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 03 มีนาคม 2010
ข้อความ: 834
คนอยากเก่ง is on a distinguished road
Default เรื่องรากครับ

1.
2.
hint หน่อยครับ

05 มีนาคม 2011 22:19 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 2 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ คนอยากเก่ง
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #2  
Old 05 มีนาคม 2011, 22:18
-MIT-'s Avatar
-MIT- -MIT- ไม่อยู่ในระบบ
สมาชิกใหม่
 
วันที่สมัครสมาชิก: 05 มีนาคม 2011
ข้อความ: 7
-MIT- is on a distinguished road
Default

เหมือนวิธีการหาอนุกรมเรขาคณิตครับ ใช้ 2 ครั้ง
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #3  
Old 05 มีนาคม 2011, 22:30
คนอยากเก่ง's Avatar
คนอยากเก่ง คนอยากเก่ง ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ประสานใจ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 03 มีนาคม 2010
ข้อความ: 834
คนอยากเก่ง is on a distinguished road
Default

ง.หรือเปล่าครับ ขอบคุณครับ รบกวนข้อ2ครับ
$-9(1+\frac{1}{12} +\frac{1}{48} +\frac{1}{192}+....+พจน์สุดท้้าย)$
แล้วอย่างไรครับ $\int_{}^{\infty}(2)คืออะไรครับ$

05 มีนาคม 2011 22:38 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 6 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ คนอยากเก่ง
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #4  
Old 05 มีนาคม 2011, 22:37
กิตติ's Avatar
กิตติ กิตติ ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ธรรมชาติ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 08 พฤศจิกายน 2009
ข้อความ: 2,723
กิตติ is on a distinguished road
Default

$\frac{1}{1^2-2^2}+\frac{1}{2^2-4^2}+\frac{1}{4^2-8^2} +...+\frac{1}{2^{2n-2}-2^{2n}} $
มาดูตรง$\frac{1}{2^{2n-2}-2^{2n}} $
$=\frac{1}{2^{2n}}\left\{\,\frac{1}{\frac{1}{4} -1 }\right\} $
$=-\frac{4}{3} \times \frac{1}{2^{2n}}$

$\frac{1}{1^2-2^2}+\frac{1}{2^2-4^2}+\frac{1}{4^2-8^2} +...+\frac{1}{2^{n-2}-2^n} $

$=-\frac{4}{3} \times \left\{\,\frac{1}{2^2}+\frac{1}{2^4}+\frac{1}{2^6}+...+ \frac{1}{2^{2n}}\right\} $

แค่นี้น่าจะต่อเองได้แล้วครับ

$\frac{1}{2^2}+\frac{1}{2^4}+\frac{1}{2^6}+...+ \frac{1}{2^{2n}}=S$........(1)

(1)$\times \frac{1}{2^2} $
$\frac{1}{2^4}+\frac{1}{2^6}+...+\frac{1}{2^{2n}}+\frac{1}{2^{2n+2}}=\frac{S}{4} $............(2)

(2)-(1): $-\frac{3}{4}S= \frac{1}{2^{2n+2}}-\frac{1}{2^2}$

น่าจะทำต่อแล้วนะครับ

$S=\quad -\frac{1}{3}\times \left\{\,\frac{1}{2^{2n}}-1\right\} $

$9\left(\,\frac{1}{1^2-2^2}+\frac{1}{2^2-4^2}+\frac{1}{4^2-8^2} +...+\frac{1}{2^{2n-2}-2^{2n}} \right) $
$=9\left(\,-\frac{4}{3} \times S\right) $
$=9\left(\,-\frac{4}{3} \times -\frac{1}{3}\times \left\{\,\frac{1}{2^{2n}}-1\right\}\right) $
$=\quad 2^{2-2n}-4$
__________________
"ถ้าเราล้มบ่อยๆ ในที่สุดเราจะรู้ว่าถ้าจะล้ม ล้มท่าไหนจะเจ็บน้อยที่สุด และรู้อีกว่าต่อไปทำยังไงจะไม่ให้ล้มอีก
ดังนั้นจงอย่ากลัวที่จะล้ม
"...อาจารย์อำนวย ขนันไทย
ครั้งแรกในชีวิตที่สอบคณิตสมาคมคณิตศาสตร์เมื่อปี2533...ผมได้แค่24คะแนน(จากร้อยคะแนน)

05 มีนาคม 2011 23:33 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 3 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ กิตติ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #5  
Old 05 มีนาคม 2011, 22:47
คนอยากเก่ง's Avatar
คนอยากเก่ง คนอยากเก่ง ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ประสานใจ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 03 มีนาคม 2010
ข้อความ: 834
คนอยากเก่ง is on a distinguished road
Default

คือพจน์สุดท้ายอะครับไม่รู้จะคิดยังไงครับ
คิดไม่ออกเลยครับ
รบกวนอีกเรื่องครับ
3,6,10,15,...
มันจะมีสูตรหาพจน์อะครับ
ที่เป็น $d_1,d_2$ อะครับ ขอสูตรได้ไหมครับ

ขอบคุณครับ..พยายามคิดแต่ไม่ออกอะครับ สงสัยต้องฝึกอีกนาน แต่เข้าใจละครับ

06 มีนาคม 2011 00:23 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ nongtum
เหตุผล: double post
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #6  
Old 06 มีนาคม 2011, 00:08
XCapTaiNX's Avatar
XCapTaiNX XCapTaiNX ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณคุ้มครองร่าง
 
วันที่สมัครสมาชิก: 14 ธันวาคม 2009
ข้อความ: 263
XCapTaiNX is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ คนอยากเก่ง View Post
คือพจน์สุดท้ายอะครับไม่รู้จะคิดยังไงครับ
คิดไม่ออกเลยครับ
รบกวนอีกเรื่องครับ
3,6,10,15,...
มันจะมีสูตรหาพจน์อะครับ
ที่เป็น $d_1,d_2$ อะครับ ขอสูตรได้ไหมครับ
$a_1 = 1+2$
$a_2 = 1+2+3$
$a_3 = 1+2+3+4$
$a_4 = 1+2+3+4+5$
$.$
$.$
$.$
$a_{(n-1)} = 1+2+3+4+...+n =$ $\frac{n(n+1)}{2}$
$a_n = 1+2+3+4+...+n+(n+1) =$ $\frac{n(n+1)}{2}+(n+1) = \frac{(n+2)(n+1)}{2}$
__________________
มุ่งมั่น ตั้งใจ และใฝ่ฝัน
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #7  
Old 06 มีนาคม 2011, 05:11
Amankris's Avatar
Amankris Amankris ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ธรรมชาติ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 13 มกราคม 2007
ข้อความ: 2,492
Amankris is on a distinguished road
Default

@#5
ไปอ่าน #4 อีกสักสองสามรอบนะ

ปล. นี่มันเรื่องลำดับอนุกรม ไม่ใช่ราก -__-"
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #8  
Old 06 มีนาคม 2011, 08:46
คนอยากเก่ง's Avatar
คนอยากเก่ง คนอยากเก่ง ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ประสานใจ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 03 มีนาคม 2010
ข้อความ: 834
คนอยากเก่ง is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ Amankris View Post
@#5
ไปอ่าน #4 อีกสักสองสามรอบนะ

ปล. นี่มันเรื่องลำดับอนุกรม ไม่ใช่ราก -__-"
ไม่อยากตั้งกระทู้ใหม่ครับ..
อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ XCapTaiNX View Post
$a_1 = 1+2$
$a_2 = 1+2+3$
$a_3 = 1+2+3+4$
$a_4 = 1+2+3+4+5$
$.$
$.$
$.$
$a_{(n-1)} = 1+2+3+4+...+n =$ $\frac{n(n+1)}{2}$
$a_n = 1+2+3+4+...+n+(n+1) =$ $\frac{n(n+1)}{2}+(n+1) = \frac{(n+2)(n+1)}{2}$
ขอบคุณครับ แต่ไม่ใช่สูตรนี้อะครับ

06 มีนาคม 2011 08:47 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ คนอยากเก่ง
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #9  
Old 06 มีนาคม 2011, 09:07
Amankris's Avatar
Amankris Amankris ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ธรรมชาติ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 13 มกราคม 2007
ข้อความ: 2,492
Amankris is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ คนอยากเก่ง View Post
ไม่อยากตั้งกระทู้ใหม่ครับ..
ดูเหมือนจะไม่เข้าใจนะ
จริงๆก็คือมันอยู่ในเรื่องอนุกรมทั้งสองข้อนั่นแหละ

ดีนะไม่ตั้งชื่อว่า "เรื่องการคูณเลข"
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #10  
Old 06 มีนาคม 2011, 09:20
คนอยากเก่ง's Avatar
คนอยากเก่ง คนอยากเก่ง ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ประสานใจ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 03 มีนาคม 2010
ข้อความ: 834
คนอยากเก่ง is on a distinguished road
Default

$a_n = a_1 + (n-1)d_1 + \frac{(n-1)(n-2)d_2}{2}$
เจอแล้วครับในgoogle
มีสูตรหาผลบวก9พจน์แรกไหมครับ
@#9
โทษๆครับลืมดูแก้หัวข้อไม่ได้- -

06 มีนาคม 2011 09:21 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ คนอยากเก่ง
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #11  
Old 06 มีนาคม 2011, 11:06
กิตติ's Avatar
กิตติ กิตติ ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ธรรมชาติ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 08 พฤศจิกายน 2009
ข้อความ: 2,723
กิตติ is on a distinguished road
Default

ข้อที่ถามหลังสุด.....มีเนื้อหาสรุปให้อ่านหน้าสุดท้ายของสรุปเนื้อหาลำดับและอนุกรมของเวปนี้.......ลำดับรวงผึ้ง.......ความรู้ของม.ปลาย

โจทย์ข้อหนึ่งให้หาผลคูณไปจนถึงพจน์ที่อนันต์หรือเปล่าครับ.......ไม่ใช่ผลบวกใช่ไหมครับ ขอเช็คโจทย์ให้หน่อยครับ
__________________
"ถ้าเราล้มบ่อยๆ ในที่สุดเราจะรู้ว่าถ้าจะล้ม ล้มท่าไหนจะเจ็บน้อยที่สุด และรู้อีกว่าต่อไปทำยังไงจะไม่ให้ล้มอีก
ดังนั้นจงอย่ากลัวที่จะล้ม
"...อาจารย์อำนวย ขนันไทย
ครั้งแรกในชีวิตที่สอบคณิตสมาคมคณิตศาสตร์เมื่อปี2533...ผมได้แค่24คะแนน(จากร้อยคะแนน)

06 มีนาคม 2011 11:10 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ กิตติ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #12  
Old 06 มีนาคม 2011, 11:13
คนอยากเก่ง's Avatar
คนอยากเก่ง คนอยากเก่ง ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ประสานใจ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 03 มีนาคม 2010
ข้อความ: 834
คนอยากเก่ง is on a distinguished road
Default

คูณครับถึงอนันต์ครับ
ทำได้ ง. ครับ ถูกหรือเปล่าครับ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #13  
Old 06 มีนาคม 2011, 12:37
yellow's Avatar
yellow yellow ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณไร้สภาพ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 20 ธันวาคม 2010
ข้อความ: 1,230
yellow is on a distinguished road
Default

1)

$3^{\frac{1}{3}+\frac{2}{3^2}+\frac{3}{3^3}+...+\frac{n}{3^n}}$


ทำต่อละกันครับ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #14  
Old 06 มีนาคม 2011, 20:55
กิตติ's Avatar
กิตติ กิตติ ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ธรรมชาติ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 08 พฤศจิกายน 2009
ข้อความ: 2,723
กิตติ is on a distinguished road
Default

$S=\frac{1}{3} +\frac{2}{3^2} +\frac{3}{3^3} +\frac{4}{3^4}+... $......(1)
$\frac{1}{3}S= \frac{1}{3^2} +\frac{2}{3^3} +\frac{3}{3^4} +\frac{4}{3^5}+... $....(2)
(1)-(2);$\frac{2}{3}S= \frac{1}{3} +\frac{1}{3^2} +\frac{1}{3^3} +\frac{1}{3^4}+... $
$\frac{2}{3}S=\frac{\frac{1}{3}}{1-\frac{1}{3}} $
$\frac{2}{3}S=\frac{1}{2} $
$S=\frac{3}{4} $

ดังนั้น$3^{\frac{1}{3}}\bullet 9^{\frac{1}{9}} \bullet 27^{\frac{1}{27}}\bullet .....=3^{\frac{3}{4}}=\sqrt[4]{27} $
ตอบข้อ ง.
__________________
"ถ้าเราล้มบ่อยๆ ในที่สุดเราจะรู้ว่าถ้าจะล้ม ล้มท่าไหนจะเจ็บน้อยที่สุด และรู้อีกว่าต่อไปทำยังไงจะไม่ให้ล้มอีก
ดังนั้นจงอย่ากลัวที่จะล้ม
"...อาจารย์อำนวย ขนันไทย
ครั้งแรกในชีวิตที่สอบคณิตสมาคมคณิตศาสตร์เมื่อปี2533...ผมได้แค่24คะแนน(จากร้อยคะแนน)
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #15  
Old 07 มีนาคม 2011, 12:11
คนอยากเก่ง's Avatar
คนอยากเก่ง คนอยากเก่ง ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ประสานใจ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 03 มีนาคม 2010
ข้อความ: 834
คนอยากเก่ง is on a distinguished road
Default

ขอบคุณทุกท่านครับ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
ตั้งหัวข้อใหม่ Reply



กฎการส่งข้อความ
คุณ ไม่สามารถ ตั้งหัวข้อใหม่ได้
คุณ ไม่สามารถ ตอบหัวข้อได้
คุณ ไม่สามารถ แนบไฟล์และเอกสารได้
คุณ ไม่สามารถ แก้ไขข้อความของคุณเองได้

vB code is On
Smilies are On
[IMG] code is On
HTML code is Off
ทางลัดสู่ห้อง


เวลาที่แสดงทั้งหมด เป็นเวลาที่ประเทศไทย (GMT +7) ขณะนี้เป็นเวลา 09:42


Powered by vBulletin® Copyright ©2000 - 2024, Jelsoft Enterprises Ltd.
Modified by Jetsada Karnpracha