Mathcenter Forum  

Go Back   Mathcenter Forum > คณิตศาสตร์โอลิมปิก และอุดมศึกษา > คณิตศาสตร์อุดมศึกษา
สมัครสมาชิก คู่มือการใช้ รายชื่อสมาชิก ปฏิทิน ข้อความวันนี้

ตั้งหัวข้อใหม่ Reply
 
เครื่องมือของหัวข้อ ค้นหาในหัวข้อนี้
  #1  
Old 20 สิงหาคม 2007, 14:02
mercedesbenz's Avatar
mercedesbenz mercedesbenz ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณคุ้มครองร่าง
 
วันที่สมัครสมาชิก: 29 เมษายน 2007
ข้อความ: 314
mercedesbenz is on a distinguished road
Default

อ่านแล้วแกะไม่ออกครับสงสัยพจน์ที่สอง ของบรรทัดรองสุดท้ายครับว่า
ทำอย่างไรให้ได้พจน์ที่สองของบรรทัดสุดท้าย
Name:  1111.JPG
Views: 515
Size:  19.4 KB

สงสัยอีกอย่างครับ เราสามารถ take เครื่องหมายอินทิเกรตเข้าไปใน sum ที่ sum ถึง $\infty$ ได้เมื่อไหร่ครับ
ผมเคยเข้าใจว่า sum นั้นต้องลู่เข้าก่อนถูกไหมครับ หรือต้องมีเงื่อนไขอื่นอีก
ตัวอย่างนะครับ

$$\int_{0}^{x}\sum_{k=0}^{\infty}(-1)^{k}t^{2k}dt=\sum_{k=0}^{\infty}\int_{0}^{x}(-1)^{k}t^{2k}dt$$ เมื่อ $ t\in [-1,1]$ ทำได้หรือเปล่าครับ
__________________
ความรู้คือ ประทีป ส่องทาง จริงๆนะครับ

20 สิงหาคม 2007 16:00 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ nongtum
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #2  
Old 20 สิงหาคม 2007, 19:41
M@gpie's Avatar
M@gpie M@gpie ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณไร้สภาพ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 09 ตุลาคม 2003
ข้อความ: 1,227
M@gpie is on a distinguished road
Default

การสลับลำดับของการบวกและการอินทิเกรต นั้น จะทำได้เมื่อผลบวกนั้นลู่เข้าแบบเอกรูป (uniform convergence) ครับ ถึงจะสลับได้ จากตัวอย่างที่ยกมานั้นทำได้ครับ แต่ส่วนใหญ่เขาจะถือว่าสลับได้ไปเลย เพราะถ้าอธิบายจะเรื่องยาวกันเลยทีเดียว
__________________
PaTa PatA pAtA Pon!
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #3  
Old 20 สิงหาคม 2007, 22:33
nooonuii nooonuii ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎทั่วไป
 
วันที่สมัครสมาชิก: 25 พฤษภาคม 2001
ข้อความ: 6,408
nooonuii is on a distinguished road
Default

บรรทัดสุดท้ายมาจากการกระจายอนุกรมของ $\dfrac{1}{1+t^2}$ ครับ

$$\frac{1}{1+t^2}=\sum_{n=0}^{\infty}(-1)^nt^{2n}$$
__________________
site:mathcenter.net คำค้น
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #4  
Old 21 สิงหาคม 2007, 12:29
mercedesbenz's Avatar
mercedesbenz mercedesbenz ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณคุ้มครองร่าง
 
วันที่สมัครสมาชิก: 29 เมษายน 2007
ข้อความ: 314
mercedesbenz is on a distinguished road
Default

ขอบคุณมากๆเลยครับ คุณ ma@gie และ พี่ nooonuii
__________________
ความรู้คือ ประทีป ส่องทาง จริงๆนะครับ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #5  
Old 21 สิงหาคม 2007, 19:29
mercedesbenz's Avatar
mercedesbenz mercedesbenz ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณคุ้มครองร่าง
 
วันที่สมัครสมาชิก: 29 เมษายน 2007
ข้อความ: 314
mercedesbenz is on a distinguished road
Default

มีอีกคำถามหนึ่งครับ ช่วยแนะแนวทางการพิสูจน์
$${2p-1 \choose p }\equiv 1(mod ~p)$$ เมื่อ p เป็นจำนวนเฉพาะ
ผมพยายามพิสูจน์ว่า $p|{2p-1 \choose p }-1$ แต่ไม่ค่อยแน่ในว่าจะถูกอ่ะครับ
__________________
ความรู้คือ ประทีป ส่องทาง จริงๆนะครับ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #6  
Old 25 สิงหาคม 2007, 14:11
mercedesbenz's Avatar
mercedesbenz mercedesbenz ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณคุ้มครองร่าง
 
วันที่สมัครสมาชิก: 29 เมษายน 2007
ข้อความ: 314
mercedesbenz is on a distinguished road
Default

พิสูจน์ได้แล้วครับ
__________________
ความรู้คือ ประทีป ส่องทาง จริงๆนะครับ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #7  
Old 26 สิงหาคม 2007, 07:24
nooonuii nooonuii ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎทั่วไป
 
วันที่สมัครสมาชิก: 25 พฤษภาคม 2001
ข้อความ: 6,408
nooonuii is on a distinguished road
Default

เฉลยด้วยก็ดีครับ เพราะผมยังพิสูจน์ไม่ได้
__________________
site:mathcenter.net คำค้น
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #8  
Old 29 สิงหาคม 2007, 16:06
mercedesbenz's Avatar
mercedesbenz mercedesbenz ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณคุ้มครองร่าง
 
วันที่สมัครสมาชิก: 29 เมษายน 2007
ข้อความ: 314
mercedesbenz is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ mercedesbenz View Post
มีอีกคำถามหนึ่งครับ ช่วยแนะแนวทางการพิสูจน์
$${2p-1 \choose p }\equiv 1(mod ~p)$$ เมื่อ p เป็นจำนวนเฉพาะ
พิสูจน์:
เนื่องจาก

\[\begin{array}{cl}
{2p-1 \choose p}
=&\frac{(2p-1)!}{p!(p-1)!}\\
=&\frac{(2p-1)(2p-2)(2p-3)\cdots(p+1)}{(p-1)!}\\
=&\frac{(2p-1)2(p-1)(2p-3)2(p-2)\cdots2(p-\frac{(p-1)}{2})}{(p-1)!}\\
=&\frac{(2p-1)(2p-3)(2p-5)\cdots(2p-(p-2))2^{(p-1)/2}(p-1)(p-2)\cdots(p-\frac{p-1}{2})}{(p-1)!}\\
=&\frac{(2p-1)(2p-3)(2p-5)\cdots(2p-(p-2))2^{(p-1)/2}}{(p-(p+1)/2)\cdots3\cdot2\cdot1}\\
=&\frac{(2p-1)(2p-3)(2p-5)\cdots(2p-(p-2))2^{(p-1)/2}}{\frac{p-1}{2}\cdots 3\cdot 2 \cdot 1}\\
\equiv & \frac{(-1)^{(p-1)/2}1\cdot 3\cdot 5\cdots (p-2)2^{(p-1)/2}}{1\cdot 2\cdot 3\cdots\frac{p-1}{2})}\\
\equiv & \frac{(-1)^{(p-1)/2}(-1)^{(p-1)/2}1\cdot2\cdot 3\cdots(\frac{p-1}{2})2^{(p-1)/2}2^{(p-1)/2}}{1\cdot 2\cdot 3\cdots\frac{p-1}{2})}\\
\equiv &2^{p-1}(mod ~p)\\
\equiv &1(mod~ p)

\end{array}\]
ยังทำไม่ค่อยละเอียดเท่าไหร่แต่แนวๆเนี่ยแหละครับ
__________________
ความรู้คือ ประทีป ส่องทาง จริงๆนะครับ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
ตั้งหัวข้อใหม่ Reply



กฎการส่งข้อความ
คุณ ไม่สามารถ ตั้งหัวข้อใหม่ได้
คุณ ไม่สามารถ ตอบหัวข้อได้
คุณ ไม่สามารถ แนบไฟล์และเอกสารได้
คุณ ไม่สามารถ แก้ไขข้อความของคุณเองได้

vB code is On
Smilies are On
[IMG] code is On
HTML code is Off
ทางลัดสู่ห้อง


เวลาที่แสดงทั้งหมด เป็นเวลาที่ประเทศไทย (GMT +7) ขณะนี้เป็นเวลา 07:40


Powered by vBulletin® Copyright ©2000 - 2024, Jelsoft Enterprises Ltd.
Modified by Jetsada Karnpracha