Mathcenter Forum  

Go Back   Mathcenter Forum > คณิตศาสตร์มัธยมศึกษา > ปัญหาคณิตศาสตร์ ม.ปลาย
สมัครสมาชิก คู่มือการใช้ รายชื่อสมาชิก ปฏิทิน ข้อความวันนี้

ตั้งหัวข้อใหม่ Reply
 
เครื่องมือของหัวข้อ ค้นหาในหัวข้อนี้
  #1  
Old 11 เมษายน 2010, 21:06
Siren-Of-Step's Avatar
Siren-Of-Step Siren-Of-Step ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ธรรมชาติ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 25 กันยายน 2009
ข้อความ: 2,081
Siren-Of-Step is on a distinguished road
Default ช่วยหน่อยครับ

เราจะพิสูจน์อย่างไรว่า

1. ถ้า $A\subset B$ แล้วจำนวนเซตที่ทำให้ $ A \subset x \subset B$ เท่ากับ $2^{n(B)-n(A)}$ เซต
2. ถ้า $A\subset B$ แล้วจำนวนเซตที่ทำให้ $A \not\subset x \subset B$ เท่ากับ $2^{n(B)}-2^{n(B)-n(A)}$ เซต
__________________
Fortune Lady

11 เมษายน 2010 21:08 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 4 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ Siren-Of-Step
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #2  
Old 11 เมษายน 2010, 21:29
nooonuii nooonuii ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎทั่วไป
 
วันที่สมัครสมาชิก: 25 พฤษภาคม 2001
ข้อความ: 6,408
nooonuii is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ Siren-Of-Step View Post
เราจะพิสูจน์อย่างไรว่า

1. ถ้า $A\subset B$ แล้วจำนวนเซตที่ทำให้ $ A \subset x \subset B$ เท่ากับ $2^{n(B)-n(A)}$ เซต
2. ถ้า $A\subset B$ แล้วจำนวนเซตที่ทำให้ $A \not\subset x \subset B$ เท่ากับ $2^{n(B)}-2^{n(B)-n(A)}$ เซต
1. ลองคิดดูว่าเซตที่มีคุณสมบัตินี้มีจำนวนสมาชิกได้สูงสุดเท่าไหร่
__________________
site:mathcenter.net คำค้น

11 เมษายน 2010 21:30 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ nooonuii
เหตุผล: ผิดเต็มๆ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #3  
Old 11 เมษายน 2010, 21:39
Mathematicism Mathematicism ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณบริสุทธิ์
 
วันที่สมัครสมาชิก: 08 พฤศจิกายน 2009
ข้อความ: 108
Mathematicism is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ Siren-Of-Step View Post
เราจะพิสูจน์อย่างไรว่า

1. ถ้า $A\subset B$ แล้วจำนวนเซตที่ทำให้ $ A \subset x \subset B$ เท่ากับ $2^{n(B)-n(A)}$ เซต
2. ถ้า $A\subset B$ แล้วจำนวนเซตที่ทำให้ $A \not\subset x \subset B$ เท่ากับ $2^{n(B)}-2^{n(B)-n(A)}$ เซต

1. $ A \subset x$ ดังนั้น x มีสมาชิกอย่างน้อย n(A) ตัว ดังนั้นเหลือสมาชิกในเซต B ให้เลือกมาใส่ใน X ได้อีก
n(B)-n(A) ตัว ซึ่งเลือกได้ $2^{n(B)-n(A)}$ วิธี

2. เนื่องจาก B มีสับเซตได้ $2^{n(B)}$ ถ้าไม่นับสับเซตที่มี A เป็นสับเซต ก็เอาจำนวนสับเซตทั้งหมดลบด้วยจำนวนสับเซตในข้อ 1 (เพราะข้อ 1 นับเฉพาะสับเซตที่มี A เป็นสับเซต)
จึงได้$2^{n(B)}-2^{n(B)-n(A)}$ เซต

อาจไม่ใช่วิธีพิสูจน์ ถือว่าเป็นคำอธิบายนะครับ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #4  
Old 23 เมษายน 2010, 00:05
DNA_Along's Avatar
DNA_Along DNA_Along ไม่อยู่ในระบบ
สมาชิกใหม่
 
วันที่สมัครสมาชิก: 26 มกราคม 2010
ข้อความ: 4
DNA_Along is on a distinguished road
Default

คือผมกำลังเรียนเรื่องเซทแล้วกำลังงงกับส่วนนี้พอดีด้วยครับ
รบกวนผู้รู้ช่วยพิสูจน์แบบให้ดูออกเลยอะครับ
__________________
Physics is beautiful and usable in real life.
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
ตั้งหัวข้อใหม่ Reply



กฎการส่งข้อความ
คุณ ไม่สามารถ ตั้งหัวข้อใหม่ได้
คุณ ไม่สามารถ ตอบหัวข้อได้
คุณ ไม่สามารถ แนบไฟล์และเอกสารได้
คุณ ไม่สามารถ แก้ไขข้อความของคุณเองได้

vB code is On
Smilies are On
[IMG] code is On
HTML code is Off
ทางลัดสู่ห้อง


เวลาที่แสดงทั้งหมด เป็นเวลาที่ประเทศไทย (GMT +7) ขณะนี้เป็นเวลา 16:48


Powered by vBulletin® Copyright ©2000 - 2024, Jelsoft Enterprises Ltd.
Modified by Jetsada Karnpracha